ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jiraporn muangporm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jiraporn muangporm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
 
 
*ลาวัวซีเย( Lavoisier)นักเคมีที่เสียชีวิตด้วยกิโยตีน
[[ไฟล์:Lavoisier.jpg|150px|thumbnail|left|ลาวัวซีเย]]
:พ.ศ.2286-2337
ยุโรปก่อนที่ลาวัวซีเยจะเกิด เป็นดินแดนที่ปราชญ์และประชาชนต่างพากันลุ่มหลงเรื่องการเล่นแร่แปรธาตุ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายจะเปลี่ยนโลหะชนิดหนึ่งให้เป็นอีกชนิดหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตะกั่วที่มีราคาถูกให้เป็นทองคำที่มีราคาแพง แม้ในปี พ.ศ.2204 ที่ โรเบิร์ด บอยล์ ได้ให้แนวคิดเรื่องธาตุว่า ไม่สามารถแบ่งแยกเป็นธาตุอื่นได้แล้วก็ตาม สำหรับวิธีการเรียกชื่อของสารประกอบต่างๆ นั้นก็ยังสับสนมาก เช่น เกลือที่เราปัจจุบันเรียกว่าแมกนีเซียมคาร์บอเนต(mogneslum carbonate) คนฝรั่งเศสในสมัยนั้นมีชื่อเรียกที่ต่างกันเก้าชื่อ เช่น magnesle blanche,mognesla aeré dé Bergman และ Magnesie crayese เป็นต้น สำหรับเรื่องสาเหตุการสันบาปนั้น ผู้คนต่างก็เชื่อทฤษฎีโฟลจิสตันของ เกอร์ก ชทาห์ล (Georg Stahl) แพทย์ชาวเยอรมันผู้ได้แถลงในปี พ.ศ 2261 ว่า สารลุกไหม้เพราะมีสารอีกชนิดหนึ่งที่เรยกว่าโฟลจิสตัน ซึ่งเวลาเาโฟลจิสตันจะถูกขับออกมา ดังนั้นหลังการเผาน้ำหนักของสารที่เหลือจะน้อยลง เพราะตาชั่งในสมัยนั้นไม่มีความแม่นยำในการวัด ดังนั้นจึงไม่มีใครเคยเห็นว่า ถ้าชั่งอย่างรอบคอบน้ำหนักของสารที่เหลือจะเพิ่มขึ้น
 
 
 
 
*ดอนตัน (Dalton) ปราชญ์เคมี ผู้ให้กำเนิดทฤษฎีอะตอม
[[ไฟล์:John Dalton.jpg|150px|thumbnail|left|ดอลตัน]]
:พ.ศ. 2309-2387
ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2377 เควกเกอร์ ชายวัย 66 ปี (Quaker คือ คนที่ไม่นับถือศาสนาใด ๆ และไม่รับราชการทหารเพราะไม่คิดฆ่าใคร อีกทั้งชอบแต่งตัวง่าย ๆ มีถุงเท้า ผ้าพันคอสีขาว และถือไม้เท้า) เดินทางมาลอนดอนเพื่อให้เซอร์ฟรานวิส ชานเทรย์ (Sir Francis Chantrey) วาดภาพเหมือนสำหรับนำไปติดตั้งที่ Manchester Royai lnstitution เพราะบุคคลเดียวกันวันนี้เป็นทั้งสมาชิกของ Royai Society แห่งอังกฤษ และ French Academy of Sciences ดังนั้นเขาจึงเป็นบุคคลสำคัญของชาติที่สมควรได้เข้าเฝ้าพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งกรุงอังกฤษ เพราะพระองค์เคยพระราชทานเหรียญทองคำให้ในฐานะผู้มีลงานวิทยาศสตร์ดีเยี่ยม แต่ก็ติดปัญหาอีกเพราะ จอห์น ดอลตัน (John Dalton) เป็นเควกเกอร์ จึงทำให้การเข้าเฝ้าโดยการแต่งตัวแล้วประดับดาปเป็นไปไม่ได้ เพราะขัดกับความเชื่อของเควกเกอร์ที่จะต้องไม่เป็นทหาร แต่เมื่อกษัตริย์ประราชประสงค์จะพบ เจ้าหน้าที่พระราชวังก็ต้องหาทางออก และพบว่ามหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดเพิ่งมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ให้ดอลตัน ดังนั้นการสวมเส้อคลุมปริญญาเวลาเข้าเฝ้าจึงเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง แม้เสื้อคลุมจะมีสีม่วงแต่ดอลตันผู้เป็นเควกเกอร์ที่ต้องแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสีเรียบๆ ก็บอกว่าเสื้อนั้นสีเขียวใบไม้ต่างหาก ทั้งนี้เพราะดอลตันเป็นคนตาบอดสี และเมื่อได้เข้าเฝ้า พระเจ้าวิลเลียมทรงมีปฏิสันถารกับดอลตันนานนับชัวโมง
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==