ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็มควอเทียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เปลี่ยนคำอ่านจาก ควอเทียร์ เป็น การ์ติเอ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปมาทำไมครับ
บรรทัด 4:
|เปิด = 27 มีนาคม พ.ศ. 2558 (บางส่วน)<br>1 เมษายน พ.ศ. 2558 (ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต และเวอร์จิน แอคทีฟ ฟิตเนส)<br>29 เมษายน พ.ศ. 2558 (เดอะ เฮลิกส์ และควอเทียร์ ฟอล)<br>29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (ทั้งโครงการ)
|สถานะ= เปิดให้บริการบางส่วน
|ปิด = เดอะ เฮลิกส์<br>ควอเทียร์ วอเตอร์ การ์เดน<br>การ์ติเอควอเทียร์ วอเตอร์ฟอล
|บริหาร = [[กลุ่มเดอะมอลล์]] โดย บริษัท ซิตี้มอลล์ กรุ๊ป จำกัด และ บริษัท เอ็มควอเทียร์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท ภิรัชบุรี จำกัด
|พื้นที่ = 250,000 ตร.ม.
|ที่จอดรถ = 2,500 คัน
|ชั้น = 11 ชั้น (เฮลิกส์ควอเทียร์)<br>45 ชั้น (กลาสการ์ติเอควอเทียร์+ภิรัชทาวเวอร์)<br>7 ชั้น (วอเตอร์ฟอลควอเทียร์)
|เว็บ =[http://www.theemdistrict.com theemdistrict.com]<br>[http://www.bhirajburi.co.th/en/ourPortfolio_OfficeBuilding_EmQ_Overview.php Bhiraj Tower at EmQuartier - Project Portfolio]
}}
 
'''ศูนย์การค้าเอ็มการ์ติเอควอเทียร์''' ({{lang-en|Emquartier}} เขียนในรูปแบบ EMQUARTIER) <!--ชื่อห้างทางการ เอ็มควอเทียร์, ไม่มี The--> ({{lang-en|Emquartier}}) เป็น[[ศูนย์การค้า]]แห่งที่สองในกลุ่ม[[ดิ เอ็ม ดิสทริค]] ซึ่งประกอบไปด้วยศูนย์การค้า โรงภาพยนตร์ และอาคารสำนักงาน บริหารงานโดย บริษัท ซิตี้มอลล์ กรุ๊ป จำกัด ใน[[กลุ่มเดอะมอลล์]] และ บริษัท ภิรัชบุรี จำกัด ในลักษณะของการร่วมทุน ตั้งอยู่ริม[[ถนนสุขุมวิท]] ฝั่งตรงข้ามกับอาคารศูนย์การค้าเอ็มโพเรียมเดิมในพื้นที่ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับตลาดลูกค้าชาวต่างชาติ และลูกค้าระดับกลางถึงสูง เช่นเดียวกับ[[สยามพารากอน]]
 
== การออกแบบ==
บรรทัด 18:
พื้นที่โครงการเอ็มควอเทียร์จะประกอบไปด้วยอาคารศูนย์การค้าทั้งหมดสามอาคาร ดังนี้
 
* '''อาคารเฮลิกส์การ์ติเอลิกส์ควอเทียร์ (The Helix Quartier)''' หรืออาคาร A (ด้านหน้าฝั่งซอยสุขุมวิท 37) เป็นอาคารที่ตั้งของร้านค้าระดับลักชัวรี่แบรนด์ ร้านค้าสินค้าไอที ร้านค้าบริการ และสถาบันความงามตั้งแต่ชั้น G-4 ส่วนชั้น 5 จะเป็นที่ตั้งของสวนลอยฟ้า ควอเทียร์ วอเตอร์ การ์เดน โดย [[ธนาคารกสิกรไทย]] ซึ่งเป็นจุดเด่นของอาคาร และตั้งแต่ชั้นนี้เป็นต้นไป ลักษณะทางเดินของอาคารจะเป็นแบบเกลียว โดยที่ผู้มาใช้บริการสามารถเดินขึ้นจากชั้นสวนลอยฟ้าไปจนถึงชั้นบนสุดได้โดยการเดินวนรอบไปตามทางลาด ซึ่งตลอดทางลาดจะเป็นร้านอาหารตลอดทาง ชั้นใต้ดินของอาคารนี้เป็นที่ตั้งของลานจอดรถอัตโนมัติพร้อมห้องรับรอง โดยเอ็มควอเทียร์จะเป็นศูนย์การค้าแห่งแรกในประเทศไทยที่นำระบบจอดรถอัตโนมัติมาใช้งาน โดยรองรับรถยนต์ได้ 300 คัน การตกแต่งภายในใช้สีขาวทองแบบเดียวกับเอ็มโพเรียม
 
* '''อาคารกลาสการ์ติเอควอเทียร์ (The Glass Quartier)''' หรืออาคาร B (ด้านหน้าฝั่งธนาคารออมสินสาขาพร้อมพงษ์) เป็นที่ตั้งของร้านค้าระดับกลาง-บน ร้านค้าแฟชั่น ศูนย์อาหาร ศูนย์ประชุมเอนกประสงค์ ศูนย์ออกกำลังกายเวอร์จินแอคทีฟ ฟิตเนส ความสูง 3 ชั้น และอาคารสำนักงานภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ (อาคารสมัชชาวานิช 3) ซึ่งเป็นอาคารสำนักงานความสูง 30 ชั้น บริหารงานโดยกลุ่มภิรัชบุรี มีห้องรับรองกลางที่ชั้น M โดยเริ่มนับชั้นอาคารสำนักงานที่ชั้น 15 และมีลิฟต์โดยสารความเร็วสูง เช่นเดียวกับอาคารระฟ้าทั่วไป นอกจากนี้ยังมีลานจอดเฮลิคอปเตอร์รวมถึงจุดชมทัศนียภาพ หรือ สกายคลิฟฟ์ที่ชั้นดาดฟ้า และห้องรับรองส่วนตัวอยู่ที่ชั้น 45 จุดเด่นคือตกแต่งอาคารด้วยกระจกทั้งหมดตั้งแต่ด้านหน้าอาคารยาวไปจนถึงอาคารวอเตอร์ฟอลการ์ติเอฟอลควอเทียร์ อีกทั้งยังสามารถมองเห็นกิจกรรมภายในอาคารได้จากฝั่งซอยสุขุมวิท 37 ทั้งหมด นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของเอ็มโพริโอ อาร์มานี่ คาเฟ่ สาขาแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย ภายในตกแต่งด้วยสีสันฉูดฉาด ตัดกับสีขาวทองอันเป็นสัญลักษณ์กลางของศูนย์ฯ
 
* '''อาคารวอเตอร์ฟอลการ์ติเอฟอลควอเทียร์ (The Waterfall Quartier)''' หรืออาคาร C (ด้านหลัง) เป็นที่ตั้งของลานจอดรถตั้งแต่ชั้น B ถึงชั้น 3 นอกจากนี้ยังมี กูร์เมต์ มาร์เก็ต คิวเรเตอร์ แหล่งรวมสินค้าแฟชั่นจากนักออกแบบชาวไทย คิว สเตเดียม ที่เป็นเสมือนส่วนห้างสรรพสินค้าของศูนย์ฯ สถาบันการเงิน โรงภาพยนตร์[[ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต]] และโรงภาพยนตร์โตโยต้าไอแมกซ์ ในเครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป จุดเด่นคืออาคารดังกล่าวเป็นที่ตั้งของควอเทียร์ฟอล น้ำตกประดิษฐ์ที่สูงที่สุดในเอเชีย ที่จะเริ่มต้นน้ำจากชั้น 4 ของอาคาร C และไหลมาจนถึงทางเดินชั้น G ระหว่างอาคาร A และอาคาร B ภายในตกแต่งแนวฮิปชิค เน้นการตัดสีระหว่างสีขาว-ดำ นอกจากนี้ยังมีจอ LED เกลียว ความสูง 3 ชั้นตั้งอยู่ด้วย
 
ซึ่งอาคารศูนย์การค้าทั้งสามอาคารจะมีสะพานเชื่อมถึงกันทุกชั้น และชั้นเอ็มยังมีทางเชื่อมไปยัง[[สถานีพร้อมพงษ์|เอ็มดิสทริค สเตชัน]] และอาคาร[[เอ็มโพเรียม]] นอกจากนี้ทางเดินระหว่างอาคารที่ชั้น G จะตกแต่งให้เป็นแนวธรรมชาติตลอดทางคั่นกลางด้วยทางไหลของน้ำจากควอเทียร์ฟอล เสมือนว่าเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างศูนย์การค้ากับอาคารสำนักงาน ทั้งนี้พื้นที่ดังกล่าวจะไม่อนุญาตให้นำรถเข้าออกเด็ดขาด ซึ่งรถที่จะเข้าลานจอดรถ ต้องอ้อมเข้าทางด้านหลังของอาคารกลาสการ์ติเอควอเทียร์ หรือใช้ซอยสุขุมวิท 37 แทน
 
<!--
บรรทัด 43:
* ร้านอาหาร
* ควอเทียร์ กูร์เม่ต์ มาร์เก็ต
* การ์ติเอควอเทียร์ อเวนิว (ทางเดินระหว่างอาคารเฮลิกส์ควอเทียร์และกลาสควอเทียร์)
* ทางเชื่อมธนาคารออมสิน สาขาพร้อมพงษ์
 
บรรทัด 76:
* อนาเธอร์ สตอรี่
* ควอเทียร์ฮอลล์
* เอ็มการ์ติเอควอเทียร์ ฟิตเนส คลับ: เดอะ เวอร์จิน แอคทีฟ คอลเลคชัน สถานออกกำลังกายในเครือเวอร์จิ้นกรุ๊ปสาขาที่สองในประเทศไทย ต่อจาก[[เอ็มไพร์ทาวเวอร์ (กรุงเทพมหานคร)|อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์]]
* โรงภาพยนตร์[[การ์ติเอควอเทียร์ ซีเนอาร์ต]] แบรนด์โรงภาพยนตร์ที่ 8 และโรงภาพยนตร์ระดับบนแห่งที่ 3 ของ[[เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป]] จำนวน 8 โรงภาพยนตร์
 
===5F - Quartier Water Garden===
* เอ็มการ์ติเอควอเทียร์ ฟิตเนส คลับ: เดอะ เวอร์จิน แอคทีฟ คอลเลคชัน
* เอ็มโพริโอ อาร์มานี คาเฟ่ สาขาแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
* สวนลอยฟ้า การ์ติเอวอเตอร์การ์เดนควอเทียร์วอเตอร์การ์เดน โดย [[ธนาคารกสิกรไทย]]
* รูฟการ์เดน