ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาดทะยัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดขึ้นจาก[[แผลเปิด]]ใหญ่หรือ[[แผลลึก]] เมื่อมีการติดเชื้อการเกร็งของกล้ามเนื้อจะเกิดขึ้นเป็นลำดับ เริ่มด้วยอาการไม่สามารถ[[กลืน]]อาหารได้ การเกร็งของกล้ามเนื้อ และการเกร็งในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย<ref name="Baron">{{cite book | author = Wells CL, Wilkins TD | title = Clostridia: Sporeforming Anaerobic Bacilli. ''In:'' Baron's Medical Microbiology '' (Baron S ''et al'', eds.)| edition = 4th ed. | publisher = Univ of Texas Medical Branch | year = 1996 | id = [http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/bv.fcgi?rid=mmed.section.1099 (via NCBI Bookshelf)] ISBN 0-9631172-1-1 }}</ref> การติดเชื่อสามารถถูกควบคุมได้โดยการให้ภูมิคุ้มกันที่เหมาะสมหรือการฉีด[[วัคซีน]]<ref name="CDC">{{cite web | title=Tetanus | work=CDC Pink Book | url=http://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/downloads/tetanus.pdf | accessdate=2007-01-26}}</ref>
 
== ความเกี่ยวข้องกับสนิมเหล็ก ==
มักเป็นที่เชื่อกันว่าบาดทะยักกับ[[สนิม|สนิมเหล็ก]]มีความเกี่ยวข้องกัน นี้เป็นความเชื่อที่ไม่ถูกต้องนัก โดยทั่วไปแล้ววัตถุที่มีสนิมมักพบอยู่นอกบ้านหรือในบริเวณที่พบแบคทีเรียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนอยู่แล้ว แต่ตัวสนิมเองไม่ทำให้เกิดโรคบาดทะยัก รวมถึงไม่ได้มีแบคทีเรีย ''C. tetani'' มากกว่าที่อื่น พื้นผิวที่ขรุขระของเหล็กขึ้นสนิมนั้นอาจเป็นแหล่งอาศัยของ [[endospore]] ของ ''C. tetani'' ได้ และ[[ตะปู]]เหล็กก็มักทิ่มผิวหนังเป็นแผลลึกเอื้อต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรียชนิดไม่ใช้ออกซิเจน จึงทำให้สนิมเหล็กถูกมองว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคบาดทะยัก ซึ่งไม่เป็นจริงแต่อย่างใด