ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pee26095 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pee26095 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำราชาศัพท์
บรรทัด 2:
| สี = #0099CC
| ภาพ = ไฟล์:พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ.jpg
| คำบรรยายภาพ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์
| คำบรรยายภาพ =
| พระนาม = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์
| พระนาม =
| พระนามเต็ม =
| ฐานันดรศักดิ์ = พระองค์เจ้า
| วันประสูติ = [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2398]]
| วันสิ้นพระชนม์ = [[ {{วันตายและอายุ|2440|12|8|2398|3|15}} ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2440]]
| พระอิสริยยศ = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ]] ชั้น 4
| พระราชบิดา =
บรรทัด 16:
| พระชายา =
| ชายา =
| หม่อม = หม่อมทองคำ ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมสุ่น ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมแส ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมเล็ก ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมผึ่ง ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมอันเส็ง ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมหรุ่ม ทวีวงศ์ ณ อยุธยา <br /> หม่อมองุ่น ทวีวงศ์ ณ อยุธยา
| หม่อม =
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = 15 พระองค์
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
 
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์''' หรือ '''กรมภู''' หรือ '''กรมภูธเรศ''' มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 24 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 1 |issue= 43 |pages= 385 |title= ข่าวตาย |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/043/385.PDF |date= 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2427 |language= ไทย }}</ref><br> ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 4 ขึ้น 10 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก จ.ศ. 1217 ตรงกับวันที่ [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2398]]
 
พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ ทรงรับราชการใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อ พ.ศ. 2419 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกรม สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ ต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกรมพระนครบาล หรือ กระทรวงนครบาล
 
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ ทรงประทับอยู่ที่[[วังสะพานช้างโรงสี]] เหนือ (เรียกกันว่า '''วังเหนือ''') ซึ่งเดิมเป็นวังที่ประทับของ กรมหมื่นสนิทนเรนทร์ และกรมหลวงสรรพศิลป์ปรีชา โดยเป็นวังในกลุ่มของพระราชโอรสในรัชกาลที่ 4 ซึ่งมีอยู่ ๓33 วัง คือบริเวณที่ปัจจุบันเรียกกันว่า [[แพร่งนรา]] แพร่งสรรพสาตร([[แพร่งสรรพศาสตร์]]) และ[[แพร่งภูธร]] ทั้ง 3 แพร่งได้ชื่อมาจากเสด็จในกรม 3 พระองค์ เจ้าของวัง คือ [[กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] [[กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ]] และกรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ เมื่อกรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์สิ้นพระชนม์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯโปรดเกล้าฯ ให้แบ่งพื้นที่ทำเป็นตึกแถว พระราชทานชื่อถนนย่านนั้นว่า '''[[แพร่งภูธร]]''' ตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์
 
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธ เดือนอ้าย ขึ้น 25 ค่ำ ปีระกา นพศก จ.ศ. 1259 ตรงกับวันที่ [[8 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2440]] พระชันษาได้ 42 ปี ทรงเป็นต้น[[หมวดหมู่:ราชสกุลทวีวงศ์|ราชสกุลทวีวงศ์]]
 
ในย่าน[[ถนนเจริญกรุง]] จะมีตลาดเก่าแก่ตลาดหนึ่งที่มีชื่อว่า '''ตลาดกรมภูธเรศ''' หรือที่ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า "ตลาดกรมภู"