ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราตวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ราชบัณฑิตสถาน’ ด้วย ‘ราชบัณฑิตยสถาน’
บรรทัด 45:
</poem>
 
ทะนาน เป็นเครื่องตวงอย่างหนึ่ง ทำด้วยกะลามะพร้าว <ref>ราชบัณฑิตสถานราชบัณฑิตยสถาน, “พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถานราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493” , พิมพ์ครั้งที่ 4, 2503</ref> โดยที่ 20 ทะนานเป็น 1 ถัง แล้วยังมี ทะนานหลวง ซึ่งเท่ากับ 1 ลิตรในระบบเมตริก ด้วย
 
นอกจาก ถัง แล้ว ยังมีอีกคำคือ สัด ซึ่ง สัด ก็เป็นภาชนะสานที่ใช้ตวงข้าว ส่วนถังนั้นสมัยโบราณทำด้วยไม้ คงมีการใช้ ถัง กับ สัด ปน ๆ กัน แต่ถัง กับ สัด มีขนาดไม่เท่ากัน ไม่ควรใช้แทนกัน ดังมีคำกลอนจากนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่ <ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, “ชีวิตและงานของสุนทรภู่”, พิมพ์ครั้งที่ 10, สำนักพิมพ์เสริมวิทย์บรรณาคาร, 2518</ref> ตอนหนึ่ง ซึ่งนำคำ ถัง กับ สัด ไปเปรียบเทียบกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ยุติธรรม ว่า
บรรทัด 92:
{{รายการอ้างอิง}}
* นิทัศน์ จิระอรุณ, “เรื่องของมาตราวัด”, ข่าวสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 11 ฉบับที่ 52, ต.ค. – ธ.ค. 2547, หน้า 1 - 4
* ราชบัณฑิตสถานราชบัณฑิตยสถาน, “สารานุกรมไทย เล่ม 13” , พิมพ์ครั้งที่ 2, บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524, หน้า 8470 - 8478
* พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466,ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 40 หน้า 183 วันที่ 27 ธันวาคม
* Bureau International des Poids et Measures,The International Sytem of Units (SI) , 8th edition 2006,Organisation Intergouvernementale de la Convention du Metre