ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวแฟรงก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:กลุ่มชนเจอร์มานิค ไปยัง หมวดหมู่:กลุ่มชนเจอร์แมนิก
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ภาษาอังกฤษโบราณ’ ด้วย ‘ภาษาอังกฤษเก่า’
บรรทัด 6:
ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่ม[[แฟรงเคีย]] “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง
 
รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจาก[[ภาษาละติน]] “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับ[[ภาษาอังกฤษโบราณเก่า]] “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ. ซี. เมอร์เรย์ กล่าวว่าที่มาของคำว่า “Franci” ไม่เป็นที่ทราบแน่นอน (“คนดุ” ดูจะเป็นความหมายที่นิยมกัน) แต่จะอย่างไรก็ตามก็เป็นคำที่มีที่มาจากเจอร์มานิค<ref>A. C. Murray, ''From Roman to Merovingian Gaul: A Reader''. Broadview Press Ltd, 2000. p. 1.</ref>
 
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชนแฟรงก์บางกลุ่มก็โจมตีอาณาบริเวณที่เป็นของโรมัน ขณะที่ชนแฟรงก์กลุ่มอื่นเข้าเป็นทหารโรมันใน[[กอล]] มีก็แต่กลุ่ม[[ซาเลียนแฟรงก์|ซาเลียน]]เท่านั้นที่ก่อตั้งราชอาณาจักรในดินแดนของโรมันและเป็นที่ยอมรับของโรมันหลังจากปี ค.ศ. 357 ในขณะที่อำนาจของจักรวรรดิโรมันเสื่อมโทรมลง ชนแฟรงก์ก็รวมตัวกันภายใต้[[ราชวงศ์เมโรแว็งเชียง]]และได้รับชัยชนะต่อดินแดนกอลทั้งหมดนอกจาก[[เซ็พติเมเนีย]] (Septimania) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ความมีอำนาจและอภิสิทธิ์ของ[[ซาเลียนแฟรงก์|ซาเลียน]]มีบทบาทสำคัญในการช่วยการเผยแพร่คริสต์ศาสนาไปทั่วยุโรปตะวันตก