ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เต้าเจี้ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pompam2p (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: เต้าเจี้ยว (soy paste)<ref>หมวดวิชา คหกรรม รหัส HE 3112 กรมการศึกษานอกโรงเร...
 
Wap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{จัดรูปแบบ}}
เต้าเจี้ยว (soy paste)<ref>หมวดวิชา คหกรรม รหัส HE 3112
กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ.โดย MONMAI. เต้าเจี้ยว ถั่วเหลืองหมักโปรตีนสูง(ออนไลน์)| วันที่ 5 กรกฏาคม 2557</ref> เป็นการแปรรูปถั่วเหลือง ให้อยู่ในลักษณะของผลิตภัณฑ์ ที่เก็บไว้ ได้นาน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้มาจากการหมักถั่วเหลือง เพื่อการถนอมอาหาร ที่จัดอยู่ในกลุ่มอาหารหมักเกลือ
เต้าเจี้ยวนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของการปรุงรสชาติอาหาร ซึ่งนอกเหนือจากจะได้รสชาติที่ดีแล้ว ยังเป็นการเพิ่มโปรตีนในอาหารอีกด้วย โดยเฉพาะในการปรุงอาหาร ที่ปราศจากเนื้อสัตว์ เช่น อาหารเจ อาหารมังสะวิรัติ
คนไทยนิยมนำเต้าเจี้ยวมาทำเป็นเครื่องจิ้มที่ เรียกว่า “หลนเต้าเจี้ยว” ไม่ว่าจะเป็นหลนเต้าเจี้ยวหมูสับ หรือกุ้งสับ และยังสามารถนำมาทำน้ำจิ้มได้อีก เช่น น้ำจิ้มข้าวมันไก่ หรือนำมาทำเป็นเครื่องปรุงรสในการประกอบอาหารตามตำรับจีน เช่น ทำแป๊ะซะ ผัดราดหน้า ตลอดจนผัดผักชนิดต่าง ๆ
เส้น 12 ⟶ 13:
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{อาหารเพื่อสุขภาพ}}