ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทมัส ยอร์ช น็อกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| height =
| term =
| parents = เจมส์ สเปนเซอร์ น็อกซ์<br>คลารา บาร์บารา แบรส์ฟอร์ดแบรส์เฟิร์ด
| spouse = ปราง เย็น น็อกซ์<ref>Bradford Smith, "It Was Love, Love, Love", ''The New York Times'', 16 September 1962</ref><ref>R. J. Minney, ''Fanny and the Regent of Siam'' (The World Publishing Company, 1962</ref><ref>"A Dark Tragedy in Siam: The Execution of Pra Preecah—A Native Nobleman Beheaded for Marrying A British Officer's Daughter—How a Cruel King Can Retain A Grudge For Years—Medieval Horrors in the Nineteenth Century", ''The New York Times'', 12 April 1880</ref><ref>W. S. Bristowe, ''Louis and the King of Siam'' (Chatto and Windus, 1976)</ref><ref>Alec Waugh, ''Bangkok: Story of a City'' (W. H. Allen, 1970), pages 84-85</ref>
| children = แฟนนี่ ปรีชากลการ<br>แคโรไลน์ อิซาเบลลา ลีโอโนเวนส์<br>โทมัส น็อกซ์
| relatives =
| signature =
บรรทัด 25:
}}
 
'''โทมัส ยอร์ช น็อกซ์''' ({{Lang-en|Thomas George Knox}}; - [[พ.ศ. 2367]] - [[พ.ศ. 2430]]<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Louis_T._Leonowens</ref>) เป็นกงสุลใหญ่ชาวอังกฤษประจำสยามในสมัย[[รัชกาลที่ 5]]<ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/king4/view.php?g_id=2&&ob_id=190&&page=2</ref> เป็นบุตรของนายเจมส์ สเปนเซอร์ น็อกซ์ กับนางคลารา บาร์บารา แบรส์ฟอร์ดแบรส์เฟิร์ด<ref name="บา">[http://www.thepeerage.com/p33215.htm#i332145 thePeerage.com]</ref> เดิมเป็นทหารอังกฤษยศร้อยเอกประจำ[[ประเทศอินเดีย]] กล่าวกันว่าพอเล่นพนันแข่งม้าจนหมดตัว จึงลาออกจากตำแหน่งตามร้อยเอกอิปเป มาทำงานที่สยามในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 4]] โดยร้อยเอกอิปเปได้เป็นครูทหารวังหลวง ส่วนนายน็อกซ์ [[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดฯให้เป็นครู[[วังหน้า]] เป็นผู้ฝึกทหารอย่างยุโรป และยังได้เข้ากองทัพกรมหลวงวงศาธิราชสนิทไปตีเมืองเชียงตุง
 
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทานผู้หญิงวังหน้า ชื่อ ปราง ให้เป็นภรรยา มีลูกด้วยกันหลายสามคน ต่อมาเมื่อรัฐบาลอังกฤษตั้งกงสุลใน[[กรุงเทพ]] และด้วยความรู้[[การเมือง]]และ[[ภาษาไทย]] จึงทำงานเป็นผู้ช่วยกงสุล แล้วได้เลื่อนตำแหน่งจนได้เป็นกงสุลเยเนอราล มีบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์<ref>http://www.most.go.th/200year/king200year.htm</ref> อีกทั้งยังสนิทและคุ้นเคยกับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์<ref>http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=rattanakosin225&group=8</ref> และได้เป็นกงสุลใหญ่อังกฤษกับอภิรัฐมนตรีในสมัย [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
โทมัส ยอร์ช น็อกซ์ มีบุตรด้วยกันกับคุณปราง สตรีชาวไทย 3 คน ได้แก่ [[แฟนนี่ น็อกซ์]] ([[ค.ศ. 1856]] - [[ค.ศ. 1925|1925]])<ref>[http://www.librarything.com/subject/Preecha+Kolakan,+Fanny+(Knox),+1856-1925 Preecha Kolakan, Fanny (Knox)]</ref>, [[แคโรไลน์ น็อกซ์]] ([[26 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1857]] - [[17 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1893]])<ref>[http://www.findagrave.com/cgi-bin/fg.cgi?page=gr&GRid=16342374 Findagrave]</ref> และโทมัส น็อกซ์ ([[11 กันยายน]] [[ค.ศ. 1859]] - [[ค.ศ. 1923]])<ref name="บา"/>
โทมัส ยอร์ช น็อกซ์ มีบุตรด้วยกันกับคุณปราง สตรีชาวไทย 3 คน ได้แก่
# [[แฟนนี่ น็อกซ์]] หรือ แฟนนี ปรีชากลการ (ค.ศ. 1856-1925)<ref>[http://www.librarything.com/subject/Preecha+Kolakan,+Fanny+(Knox),+1856-1925 Preecha Kolakan, Fanny (Knox)]</ref> สมรสกับ[[พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)]] มีบุตรชายเพียงคนเดียว
# [[แคโรไลน์ น็อกซ์|แคโรไลน์ อีซาเบลลา น็อกซ์]] หรือ ดวงแข<ref>[[จิระนันท์ พิตรปรีชา]]. ''ลูกผู้ชายชื่อนายหลุยส์''. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2552, หน้า 120</ref> (26 มิถุนายน ค.ศ. 1857 - 17 มิถุนายน ค.ศ. 1893)<ref>[http://www.findagrave.com/cgi-bin/fg.cgi?page=gr&GRid=16342374 Findagrave]</ref> สมรสกับ[[หลุยส์ ลีโอโนเวนส์]] บุตรชายของ[[แอนนา ลีโอโนเวนส์]] มีบุตรด้วยกันสองคน
# โทมัส น็อกซ์ (11 กันยายน ค.ศ. 1859 - ค.ศ. 1923)<ref name="บา"/>
 
ต่อมาบุตรสาว แฟนนี่ น็อกซ์ แต่งงานกับ[[พระปรีชากลการ]] (สำอาง อมาตยกุล) ซึ่งเกิดเหตุการณ์ระหองระแหงระหว่างพระปรีชากลกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ จากการที่มาจากความประพฤติไม่ชอบของพระปรีชากลการ ทำให้นายน็อกซ์พยายามใช้อิทธิพลของตนในฐานะผู้แทนรัฐบาลอังกฤษสั่งเรือรบเข้ามาข่มขู่รัฐบาลสยามเพื่อช่วยลูกเขย แต่ผลคือพระปรีชากลการถูกลงโทษ[[ประหารชีวิต]] พร้อมถูกริบราชบาตร นายน็อกซ์ถูกทางการอังกฤษเรียกตัวกลับไป นางแฟนนี่ ลูกสาวต้องหนีออกนอกประเทศและไม่มีข่าวหลังจากนี้นอีกเลย<ref>ไกรฤกษ์ นานา, "ฟื้นปริศนาคดีประวัติศาสตร์ นางแฟนนี่ น็อกซ์ แก้ต่างความผิดให้พระปรีชากลการ". นิตยสารศิลปวัฒนธรรม เล่มที่ 7 พฤษภาคม 2551 หน้า 106-121 </ref>