ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอนเน็ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''ซอนเน็ต''' ({{lang-en|Sonnet}}) เป็นรูปแบบ[[ฉันทลักษณ์]]งาน[[กวีนิพนธ์]]ใน[[ภาษาอังกฤษ]]แบบหนึ่ง พบมากในงานกวีนิพนธ์ของประเทศใน[[ยุโรป]] คำว่า "ซอนเน็ต" มาจากคำ ''sonet'' ใน[[ภาษาอ็อกซิตัน]] และ ''sonetto'' ใน[[ภาษาอิตาลี]] มีความหมายว่า "บทเพลงน้อยๆน้อย ๆ" ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เริ่มมีการใช้ซอนเน็ตกับบทกวี 14 บรรทัด ซึ่งมีรูปแบบสัมผัสที่เคร่งครัดและมีโครงสร้างพิเศษ ผู้เขียนโคลงซอนเน็ตมักมีคำเรียกเฉพาะว่า "sonneteer" งานกวีนิพนธ์แบบซอนเน็ตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ [[วิลเลียม เชกสเปียร์#งานกวีนิพนธ์|ซอนเน็ตของเชกสเปียร์]] ซึ่งได้ประพันธ์โคลงซอนเน็ตไว้ถึง 154 บท
 
กวีมักนิยมเขียนโคลงซอนเน็ตโดยใช้มาตราแบบ [[iambic pentameter]]ในงานประพันธ์ภาษาอังกฤษ ถ้าประพันธ์ด้วย[[ภาษากลุ่มโรมานซ์]] จะนิยมใช้มาตราแบบ [[hendecasyllable]] และ [[alexandrine]]
 
== ตัวอย่าง ==
ตัวอย่างโคลงซอนเน็ตของเชกสเปียร์ บทที่ 116 ใน 1 บทมี 14 บรรทัด ประพันธ์ด้วยมาตรา iambic pentameter กล่าวคือแต่ละบรรทัดประกอบด้วย 10 พยางค์ (หรืออาจเป็น 9-11 พยางค์ก็ได้) ลักษณะสัมผัสท้ายประโยคเป็นดังนี้ a-b-a-b / c-d-c-d / e-f-e-f / g-g
 
<blockquote>
Let me not to the marriage of true minds (a) </br>
Admit impediments, love is not love (b) </br>
Which alters when it alteration finds, (a) </br>
Or bends with the remover to remove. (b) </br>
O no, it is an ever fixed mark (c) </br>
That looks on tempests and is never shaken; (d) </br>
It is the star to every wand'ring bark, (c) </br>
Whose worth's unknown although his height be taken. (d) </br>
Love's not time's fool, though rosy lips and cheeks (e) </br>
Within his bending sickle's compass come, (f) </br>
Love alters not with his brief hours and weeks, (e) </br>
But bears it out even to the edge of doom: (f) </br>
If this be error and upon me proved, (g) </br>
I never writ, nor no man ever loved. (g) </br>
</blockquote>