ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปอง ปรีดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +ย้ายป้ายวิกิประเทศไทยไปหน้าอภิปราย
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
== เข้ากรุง ==
เมื่อมีความมั่นใจมากขึ้น ปอง ปรีดา หนุ่มรูปร่างผอมดำ ก็ตัดสินใจเข้ามาในกรุงเทพ เพื่อตามหาฝันในการเป็นนักร้องของเขาด้วยความช่วยเหลือของพนักงานไฟฟ้าที่มาที่หมู่บ้านเพื่อสำรวจติดตั้งไฟฟ้า เมื่อมาถึงกรุงเทพ พนักงานไฟฟ้าคนนั้น พาปอง ปรีดา มาฝากที่วงสมยศ และวงอื่นๆอีกหลายวง แต่ก็ถูกปฏิเสธเสียทั้งหมด จนผู้อุปการะต้องยอมโบกธงเลิกรา (บางตำราบอกว่าเขาเคยมาสมัครเป็นนักร้องวงดุริยางค์ทหารอากาศด้วย) และปอง ปรีดา ต้องไปขายแรงงานเป็นกรรมกรโรงเลื่อยย่าน[[เกียกกาย]] เพื่อหาเลี้ยงชีพ และต่อมา เมื่อครูสุดใจ เจริญรัตน์ ครูมวยแห่งค่ายมวยเกียรติสงคราม เห็นแวว จึงชวนมาหัดชกมวย เขาหารายได้เสริมด้วยการตระเวนชกมวยในเมืองหลวงและ[[ปริมณฑล]]ในชื่อ “ วิเชียร ศิษย์จำเนียร “ (บางตำราบอกว่า สิงห์น้อย เกียรติสงคราม)และมีสถิติการชก 25 ครั้ง ไม่เคยแพ้ใคร โดยครั้งแรกชนะน็อคที่บ้านแพน
 
แต่ปอง ปรีดา มีความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักร้องมากกว่านักมวย จึงตัดสินใจเลิกชก และตระเวนประกวดร้องเพลงต่อ ก่อนจะมาขออาศัยอยู่กับพระที่[[วัดบางอ้อ]] ต่อมาได้ทำงานที่ฝ่ายไปเป็นคนงสานโยธาธิการ [[กรมช่างอากาศบำรุง]] แถว[[บางซื่อ]] แต่ก็มักจะหลบงานเพื่อออกไปประกวดร้องเพลงตามงานวัดแถวๆนั้น และก็มักจะคว้ารางวัลมาเป็นประจำ หลังจากตระเวนประกวดอยู่ระยะหนึ่ง และกลับมามีความมั่นใจมากขึ้น ก็วานเพื่อนให้พาไปฝากกับครู [[นารถ ถาวรบุตร]] หัวหน้าวงดนตรี[[โรงงานยาสูบ]] ที่[[คลองเตย]] และก็มีโอกาสได้อยู่รับใช้ครู พร้อมกับติดตามไปกับวงดนตรี และได้ร้องเพลงเมื่อนักร้องขาด จนถึงขั้นได้ร้องเพลงออกอากาศที่[[กรมประชาสัมพันธ์]] และก็ฝันที่จะได้เป็นนักร้องอัดแผ่น ระหว่างนั้น วิม อิทธิกุล และ สกล เรืองสุข ได้ร่วมกันแต่งเพลงเขมรพวงให้ร้องด้วย
 
แต่ไม่ถึง 2 ปีต่อมา เมื่อมารู้ความจริงว่าโรงงานยาสูบ ไม่มีนโยบายส่งเสริมให้นักร้องบันทึกเสียง ประกอบกับความไม่ชัดเจนในรายได้ ปอง ปรีดา จึงออกมา และมาที่โรงเรียนสหมิตรดนตรี ที่ครูดนตรีชื่อดังของเมืองไทยราว 50 คนได้ร่วมกันตั้งขึ้น โรงเรียนแห่งนี้เป็นแผนกหนึ่งของบริษัท สหมิตรดนตรีจำกัด ที่ทำธุรกิจ ผลิตเพลง ทำแผ่นเสียง และ ขายเครื่องดนตรีเป็นหลัก แต่ปอง ปรีดา ก็ที่นี่ถูกปฏิเสธ แต่ด้วยความเชื่อมั่นในบรรดาครูเพลงเหล่านี้ เขาก็ทนหน้าด้าน หอบข้าวของมาอาศัยอยู่ที่โรงเรียน โดยเสนอตัวทำงานรับใช้ทุกอย่างด้วยความขยันขันแข็งเพื่อหวังสร้างความประทับใจ ขณะที่บางครั้งตัวเองก็ต้องอดข้าวอดน้ำ ถ้าไม่มีใครเมตตามอบข้าวน้ำให้
 
== บันทึกเสียง ==
 
หลังจากทนอยู่ระยะหนึ่ง ครู[[นคร ถนอมทรัพย์]] หรือ [[กุงกาดิน]] เกิดความสงสาร และเมื่อทดลองให้เขาร้องเพลงที่ร้องยาก ซึ่งเขาก็ทำได้ดี ครูจึงตัดสินใจนำเขาไปแนะนำกับ ครู[[มงคล อมาตยกุล]] และเอาไปฝากกับวง “ ประเทืองทิพย์ “ ของ ประเทือง บุญญประพันธ์ ปอง ปรีดา อยู่รับใช้ครูประเทือง 2 ปี ก็มีโอกาสได้ร้องเพลงออกอากาศทางสถานีวิทยุ [[สทร]]. [[ท่าราชวรดิษฐ์]] ซึ่งครูประเทืองมีหมายการแสดงอยู่สัปดาห์ละครั้ง ขณะเดียวกันตามแผนปลุกปั้น ปอง ปรีดายังต้องคอยรับใช้ครูมงคลด้วย ซึ่งระหว่างนั้นครูนครก็แนะนำเรื่องการร้องเพลง เป่า[[แคน]] และการเลียนเสียงนกกา การเป่าใบไม้ เพื่อให้เขานำไปแสดงความสามารถให้ครูมงคลได้ชมถ้ามีโอกาส
 
เส้น 23 ⟶ 24:
ต่อมาครูนครได้แนะนำให้เขาแต่งเพลงเกี่ยวกับแม่น้ำโขง โดยมีเนื้อหาชมความงามของผู้หญิง ตามแบบเพลง “ เบิ่งโขง “ ของ[[เฉลิมชัย ศรีฤาชา]] ปอง ปรีดา ลองแต่งอีกครั้ง และได้ออกมาเป็นเพลง “ สาวฝั่งโขง “ หลังได้รับการตรวจทานโดยครู[[ร้อยแก้ว รักไทย]]อยู่หลายครั้ง ครูมงคล ก็ตัดสินใจว่าจะลองดูกับลูกศิษย์คนนี้อีกสักครั้ง หลังจากที่ผิดหวังมาจากครั้งแรก แต่ในปี 2501 เพลงนี้ก็ได้พลิกชีวิตให้ปอง ปรีดา ได้ขึ้นมาโลดแล่นในวงการจวบจนชีวิตเข้าสู่วัยชรา
 
สำหรับชื่อปอง นั้น ครูมงคล เป็นคนตั้งให้ ส่วนปรีดานั้น สัมพันธ์ อูนากูล ตั้งให้
หลังจากเพลงดัง เขาก็ถูกบรรจุเข้าเป็นนักร้องรุ่นแรกๆของวง[[จุฬารัตน์]] ที่ครูมงคลตั้งขึ้นในปี 2501 แทนวงลีลาศมงคล อมาตยกุล ขณะที่นักร้องคนอื่นๆก็มีครูนคร ที่ร้องเพลงสากล [[เบญจมินทร์]] , [[ชัย อนุชิต]] ทูล ทองใจ และ [[พร ภิรมย์]] ปอง ปรีดาอยู่ที่นี่จนถึงปี 2506 ก็ลาออกเพราะขัดแย้งกับเพื่อนในวง จากนั้นก็ไปอยู่กับวง “ [[รวมดาวกระจาย]]” ของครู[[สำเนียง ม่วงทอง]] จนถึงปี 2511 ก็ลาออกเพราะมีปัญหากับคนในวง
 
หลังจากเพลงดัง เขาก็ถูกบรรจุเข้าเป็นนักร้องรุ่นแรกๆของวง[[จุฬารัตน์]] ที่ครูมงคลตั้งขึ้นในปี 2501 แทนวงลีลาศมงคล อมาตยกุล ขณะที่นักร้องคนอื่นๆก็มีครูนคร ที่ร้องเพลงสากล [[เบญจมินทร์]] , [[ชัย อนุชิต]] ทูล ทองใจ และ [[พร ภิรมย์]] ปอง ปรีดาอยู่ ที่นี่ผลิตเพลงดังอย่างเทพีเชียงใหม่ สาวอยู่บ้านใด๋ และสาวป่าซาง รวมทั้งเคยไปแสดงถึงประเทศลาวมาแล้ว อยู่กับวงจนถึงปี 2506 ก็ลาออกเพราะขัดแย้งกับเพื่อนในวง จากนั้นก็ไปอยู่กับวง “ [[รวมดาวกระจาย]]” ของครู[[สำเนียง ม่วงทอง]] จนถึงปี 2511 ก็ลาออกเพราะมีปัญหากับคนในวง
 
จากนั้นในปี 2512 เขาก็กลับอีสาน และร่วมกับเพื่อนตั้งวง “ ปอง ปรีดา “ ตระเวนรับงานแถวจ.อุดรธานี แต่ก็เกิดปัญหาบางประการจนต้องยุบวงในปีเดียวกันนั้น จากนั้นก็ ต่อมา ปอง ปรีดา ได้หันไปเป็นนักมาทำไร่ และปักหลักอยู่ที่[[ลำนารายณ์]] จ.[[ลพบุรี]] แต่ก็ยังรับงานร้องเพลงตามร้านอาหารงานต่างๆ จวบจนเข้าสู่วัยชราในระยะ มีผู้มาซื้อเพลงที่เขาแต่งด้วยเงินก้อนโต
 
2521 [[ศรชัย เมฆวิเชียร]] มาซื้อเพลงสาวฝั่งโขง และ สาวอยู่บ้านใด๋ ของเขาไปบันทึกเสียงใหม่ จนโด่งดัง ซึ่งในการบันทึกเสียง ปอง ปรีดาก็ยังไปช่วยผิวปากให้ด้วย
 
จวบจนเข้าสู่วัยชรา ปอง ปรีดา ในวัยกว่า 70 ปี ก็ยังรับจ้างร้องเพลงอยู่ สมกับที่เขาเคยพูดว่า “ กูเกิดมาเพื่อร้องเพลง "
จากนั้นในปี 2512 เขาก็กลับอีสาน และร่วมกับเพื่อนตั้งวง “ ปอง ปรีดา “ แต่ก็เกิดปัญหาบางประการจนต้องยุบวงในปีเดียวกันนั้น จากนั้นก็หันไปเป็นนักร้องตามร้านอาหาร จวบจนเข้าสู่วัยชรา
 
{{เกิดปี|2475}}