ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปลักษณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13:
บทบาทของอุปลักษณ์ทางปริชานนี้ถูกกำหนดโดยความสามารถที่ระบบทางความคิดประมวลออกมาในรูปแบบที่หลากหลาย ระบบการสร้างมโนทัศน์ปกติของเรานั้นจึงเป็นระบบที่ต้องพึ่งพากระบวนการทางอุปลักษณ์อยู่ตลอด เราสามารถกล่าวได้ว่าอุปลักษณ์คือสิ่งที่ธรรมดาและเป็นสิ่งพื้นฐานที่สุดในชีวิตมนุษย์
 
เลคอฟให้รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการของอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ไว้ว่าเกิดจากการที่มโนทัศน์ที่เป็นนามธรรม (abstact conceptsabstract concept) สร้างขึ้นจากมโนทัศน์ที่มีความใกล้เคียงกับประสบการณ์ที่มีพื้นฐานจากทางร่างกาย (corporal experience) ของเรา กระบวนการนี้มีความสัมพันธ์กับตัวมโนทัศน์ไม่ใช่ตัวคำในภาษา และยังสัมพันธ์กับระบบการคิดอย่างมีเหตุผล กระบวนการหลักของอุปลักษณ์มโนทัศน์คือการถ่ายทอดระหว่างขอบเขตของมโนทัศน์ที่ต่างกัน โดยจะมีการเก็บโครงสร้างที่เป็นตัวอนุมานระหว่างแต่ละมโนทัศน์ไว้เสมอ
 
ด้วยเหตุนี้ อุปลักษณ์จึงทำให้การคิดเป็นสิ่งที่ง่ายขึ้น เลคอฟอธิบายเพิ่มเติมว่ากรอบของประสบการณ์ทางความคิดเชิงนามธรรมที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหลายนั้นจะถูกรวบรวมโดยผ่านเครือข่ายของอุปลักษณ์ซึ่งทำหน้าที่สร้างแบบแผนทางความคิด ดังนั้นหน้าที่สำคัญของอุปลักษณ์คือการเชื่อมโยงรูปแบบความคิดที่เป็นนามธรรมเข้ากับรูปแบบความคิดทางกายภาพโดยผ่านตัวกระทำทางปริชาน ส่วนประสบการณ์แต่ละแบบนั้นก็เกิดขึ้นมาจากการที่เรามีปฏิสัมพันธ์กับโลกรอบๆ ตัวเรา ดังนั้นอุปลักษณ์จึงเชื่อมต่อรูปแบบการแสดงความคิดเข้ากับพื้นฐานทางความรู้สึกและประสบการณ์
บรรทัด 24:
* Ronthavan Surisarn, [[Étude sémantico-cognitive de la préposition spatiale « chez » du français : de la spatialité à la non-spatialité]] , Bangkok : Université Chulalongkorn, À paraître.
 
[[หมวดหมู่:ภาษาการเล่นคำ]]
[[หมวดหมู่:บันเทิงคดี]]