ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธาตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3:
ในทาง[[เคมี]] '''ธาตุ''' คือ [[สารบริสุทธิ์]]ซึ่งประกอบด้วย[[อนุภาคมูลฐาน]][[เลขอะตอม]] อันเป็นจำนวนของ[[โปรตอน]]ใน[[นิวเคลียส]]ของธาตุนั้น<ref>{{GoldBookRef|file=C01022|title=chemical element}}</ref> ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น [[คาร์บอน]] [[ออกซิเจน]] [[อะลูมิเนียม]] [[เหล็ก]] [[ทองแดง]] [[ทองคำ]] [[ปรอท]]และ[[ตะกั่ว]]
 
จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 มีการบ่งชี้ธาตุแล้ว 118 ธาตุ ล่าสุดคือ [[อูนอูนออกเทียม]] ใน พ.ศ. 2545<ref name=Oganessian2002>{{cite journal|first=YT|last=Oganessian|title=Heaviest nuclei from 48Ca-induced reactions|journal=Journal of Physics G: Nuclear and Particle Physics|volume=34|issue=4|year=2007|pages=R165–R242|doi=10.1088/0954-3899/34/4/R01|url=http://www.icpress.co.uk/etextbook/p573/p573_chap01.pdf|accessdate=2011-05-07|bibcode=2007JPhG...34..165O}}</ref> ในบรรดาธาตุที่รู้จักกัน 118 ธาตุนั้น มีเพียง 92 ธาตุแรกเท่านั้นที่เชื่อกันว่าเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบน[[โลก]] และมี 80 ธาตุที่เสถียรหรือโดยพื้นฐานแล้วเสถียร ขณะที่ที่เหลือเป็น[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี|ธาตุกัมมันตรังสี]] ซึ่งจะสลายตัวไปเป็นธาตุที่เบากว่าในระยะเวลาที่แตกต่างกันจากเสี้ยววินาทีไปจนถึงหลายพันล้านปี ธาตุใหม่ ๆ ซึ่งมีเลขอะตอมสูงกว่าที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สังเคราะห์ขึ้นจากผลิตภัณฑ์ของ[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]]
 
[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]]เป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดใน[[เอกภพ]] อย่างไรก็ดี ออกซิเจนเป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดใน[[เปลือกโลก]] ประกอบกันเป็นครึ่งหนึ่งของมวลทั้งหมด<ref name=LosAlamos>{{cite web|title=Periodic Table of Elements: Oxygen|author=Los Alamos National Laboratory|authorlink=Los Alamos National Laboratory|publisher=Los Alamos National Security, LLC|location=Los Alamos, New Mexico|year=2011|url=http://periodic.lanl.gov/8.shtml|accessdate=2011-05-07}}</ref> แม้สสารเคมีทั้งหมดที่ทราบกันจะประกอบด้วยธาตุอันหลากหลายเหล่านี้ แต่[[สสาร]]เคมีนั้นประกอบกันขึ้นเป็นเพียงราวร้อยละ 15 ของสสารทั้งหมดในเอกภพ ส่วนที่เหลือนั้นเป็น[[สสารมืด]] ซึ่งมิได้ประกอบด้วยธาตุเคมีที่มนุษย์รู้จัก เพราะไม่มีโปรตอน [[นิวตรอน]]หรือ[[อิเล็กตรอน]]
 
เชื่อกันว่าธาตุเคมีเกิดขึ้นจากกระบวนการของเอกภพหลายอย่าง รวมทั้งไฮโดรเจน ฮีเลียม และ[[ลิเทียม]] [[เบริลเลียม]]และ[[โบรอน]]ปริมาณน้อยกว่า เกิดขึ้นระหว่าง[[บิกแบง]]และปฏิกิริยาการแตกเป็นเสี่ยงของ[[รังสีคอสมิก]] (cosmic-ray spallation) การเกิดขึ้นของธาตุที่หนักขึ้นตั้งแต่คาร์บอนไปจนถึงธาตุที่หนักที่สุดนั้นเป็นผลจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์]] และ[[มหานวดารา]]ได้ทำให้ธาตุเหล่านี้มีสำหรับระบบสุริยะเนบิวลาและการก่อตัวของดาวเคราะห์ และเหตุการณ์ของเอกภพซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ซึ่งระเบิดธาตุที่สร้างขึ้นใหม่เหล่านี้จากดาวฤกษ์ออกสู่อวกาศ<ref>{{cite journal
| title= Synthesis of the Elements in Stars
| author= E. M. Burbidge, G. R. Burbidge, W. A. Fowler, F. Hoyle
| journal= Reviews of Modern Physics
| volume= 29
| issue= 4
| pages= 547–650
| year= 1957
| doi= 10.1103/RevModPhys.29.547
| bibcode=1957RvMP...29..547B}}</ref> ขณะที่ธาตุส่วนใหญ่มักถูกมองว่าเสถียร แต่[[การแปรนิวเคลียส]] (nuclear transformation) ตามธรรมชาติของธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่งนั้นยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน โดยการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เช่นเดียวกับกระบวนการนิวเคลียร์อื่น ๆ เช่น การยิงรังสีคอสมิกและ[[นิวเคลียร์ฟิชชัน]]ตามธรรมชาติของ[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ธาตุหนักหลายชนิด
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธาตุ"