ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาราศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
{{ใช้ปีคศ}}
[[ไฟล์:Milky Way 2005.jpg|thumb|250px|ดาราจักร[[ทางช้างเผือก]]]]
'''ดาราศาสตร์''' คือวิชา[[วิทยาศาสตร์]]ที่ศึกษา[[วัตถุท้องฟ้า]] (อาทิ [[ดาวฤกษ์]] [[ดาวเคราะห์]] [[ดาวหาง]] และ[[ดาราจักร]]) รวมทั้ง[[ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ]]ต่างๆต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอก[[ชั้นบรรยากาศ]]ของ[[โลก]] โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทาง[[กายภาพ]] ทาง[[เคมี]] ทาง[[อุตุนิยมวิทยา]] และ[[การเคลื่อนที่]]ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึง[[จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ|การกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ]]<ref>[http://www.answers.com/topic/astronomy?cat=technology Definition at Answer.com]</ref><ref>[http://www.merriam-webster.com/dictionary/astronomy Definition at Merriam-Webster.com]</ref><ref>[http://www.brainyquote.com/words/as/astronomy133158.html Definition at BrainyQuote.com]</ref>
 
ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม [[กล้องโทรทรรศน์]]เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น [[การวัดตำแหน่งดาว]] [[การเดินเรือดาราศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์]] การสร้าง[[ปฏิทิน]] และรวมทั้ง[[โหราศาสตร์]] แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับ[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]] ตั้งแต่[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนา[[คอมพิวเตอร์]]หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่างๆต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี
 
การค้นพบสิ่งต่างๆต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดย[[นักดาราศาสตร์สมัครเล่น]]นั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว
 
ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็น[[ความเชื่อ]]ที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึก[[ตำแหน่งดาว]] (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน <ref name="new cosmos">{{cite book | author=Albrecht Unsöld | coauthors=Bodo Baschek, W.D. Brewer (translator) | title=The New Cosmos: An Introduction to Astronomy and Astrophysics | year=2001| location=Berlin, New York | publisher=Springer | id =ISBN 3-540-67877-8 }}</ref>
บรรทัด 13:
 
== ประวัติ ==
ดาราศาสตร์นับเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดวิชาหนึ่ง เพราะนับตั้งแต่มีมนุษย์อยู่บนโลก เขาย่อมได้เห็นได้สัมผัสกับ[[สิ่งแวดล้อม]]ตาม[[ธรรมชาติ]]เสมอมา แล้วก็เริ่มสังเกตจดจำและเล่าต่อๆต่อ ๆ กัน เช่น เมื่อมองออกไปรอบตัวเห็นพื้นดินราบ ดูออกไปไกลๆไกล ๆ ก็ยังเห็นว่าพื้นผิวของโลกแบน จึงคิดกันว่า[[โลก]]แบน มองฟ้าเห็นโค้งคล้ายฝาชีหรือโดม มีดาวให้เห็นเคลื่อนข้ามศีรษะไปทุกคืน กลางวันมีลูกกลมแสงจ้า ให้[[แสง]] [[สี]] [[ความร้อน]] ซึ่งก็คือ [[ดวงอาทิตย์]] ที่เคลื่อนขึ้นมาแล้วก็ลับขอบฟ้าไป ดวงอาทิตย์จึงมีความสำคัญกับเขามาก
 
การศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรกๆแรก ๆ เป็นการเฝ้าดูและคาดเดาการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าเหล่านั้นที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก่อนยุคสมัยที่[[กล้องโทรทรรศน์]]จะถูกประดิษฐ์ขึ้น มีสิ่งปลูกสร้างโบราณหลายแห่งที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สำหรับการเฝ้าศึกษาทางดาราศาสตร์ เช่น [[สโตนเฮนจ์]] นอกจากนี้การเฝ้าศึกษาดวงดาวยังมีความสำคัญต่อพิธีกรรม ความเชื่อ และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลี่ยนฤดูกาล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมการเพาะปลูก รวมถึงเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงระยะเวลา วัน เดือน ปี<ref>George Forbes (1909) (Free e-book from [[โครงการกูเต็นเบิร์ก|Project Gutenberg]]). [http://www.gutenberg.org/etext/8172 History of Astronomy]. London: Watts & Co.. http://www.gutenberg.org/etext/8172.</ref>
 
เมื่อสังคมมีวิวัฒนาการขึ้นในดินแดนต่างๆต่าง ๆ การสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ก็ซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน [[ดาราศาสตร์ในเมโสโปเตเมีย|เมโสโปเตเมีย]] [[ดาราศาสตร์ในกรีก|กรีก]] [[ดาราศาสตร์ในจีน|จีน]] [[ดาราศาสตร์ในอียิปต์|อียิปต์]] [[ดาราศาสตร์ในอินเดีย|อินเดีย]] และ [[ดาราศาสตร์ในมายา|มายา]] เริ่มมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของธรรมชาติแห่งจักรวาลกว้างขวางขึ้น ผลการศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรกๆแรก ๆ จะเป็นการบันทึกแผนที่ตำแหน่งของดวงดาวต่างๆต่าง ๆ อันเป็นศาสตร์ที่ปัจจุบันเรียกกันว่า [[การวัดตำแหน่งดาว]] (astrometry) ผลจากการเฝ้าสังเกตการณ์ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆต่าง ๆ เริ่มก่อตัวเป็นรูปร่างขึ้น ธรรมชาติการเคลื่อนที่ของ[[ดวงอาทิตย์]] [[ดวงจันทร์]] และ[[โลก]] นำไปสู่แนวคิดเชิงปรัชญาเพื่อพยายามอธิบายปรากฏการณ์เหล่านั้น ความเชื่อดั้งเดิมคือโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่างๆต่าง ๆ เคลื่อนที่ไปโดยรอบ แนวคิดนี้เรียกว่า [[แบบจำลองแบบโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาล]] (geocentric model)
 
มีการค้นพบทางดาราศาสตร์ที่สำคัญไม่มากนักก่อนการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ ตัวอย่างการค้นพบเช่น ชาว[[จีน]]สามารถประเมิน[[ความเอียงของแกนโลก]]ได้ประมาณหนึ่งพันปี[[ก่อนคริสตกาล]] ชาว[[บาบิโลเนีย|บาบิโลน]]ค้นพบว่าปรากฏการณ์[[จันทรคราส]]จะเกิดขึ้นซ้ำเป็นช่วงเวลา เรียกว่า [[วงรอบซารอส]]<ref>[http://sunearth.gsfc.nasa.gov/eclipse/SEsaros/SEsaros.html Eclipses and the Saros] NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-28. </ref> และช่วงสองร้อยปีก่อนคริสตกาล [[ฮิปปาร์คัส]] [[นักดาราศาสตร์]][[ชาวกรีก]] สามารถคำนวณขนาดและระยะห่างของ[[ดวงจันทร์]]ได้<ref>[http://www-groups.dcs.st-and.ac.uk/~history/Biographies/Hipparchus.html Hipparchus of Rhodes] School of Mathematics and Statistics, University of St Andrews, Scotland. เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-28. </ref>
 
ตลอดช่วงยุคกลาง การค้นพบทางดาราศาสตร์ในยุโรปกลางมีน้อยมากจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 แต่มีการค้นพบใหม่ๆใหม่ ๆ มากมายในโลกอาหรับและภูมิภาคอื่นของโลก มีนักดาราศาสตร์ชาวอาหรับหลายคนที่มีชื่อเสียงและสร้างผลงานสำคัญแก่วิทยาการด้านนี้ เช่น Al-Battani และ Thebit รวมถึงคนอื่นๆอื่น ๆ ที่ค้นพบและตั้งชื่อให้แก่ดวงดาวด้วย[[ภาษาอารบิก]] ชื่อดวงดาวเหล่านี้ยังคงมีที่ใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน<ref name="short history">{{cite book | author=Arthur Berry | title=A Short History of Astronomy From Earliest Times Through the Nineteenth Century | publisher=Dover Publications, Inc. | location=New York | year=1961 }}</ref><ref name="Cambridge history">{{cite book | editor=Michael Hoskin | title=The Cambridge Concise History of Astronomy | publisher=Cambridge University Press | year=1999 | isbn = 0-521-57600-8 }}</ref>
 
=== การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ===
บรรทัด 28:
ในยุค[[เรอเนซองส์]] [[นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส]] ได้นำเสนอแนวคิด[[ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง|แบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]] ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมากจากศาสนจักร ทว่าได้รับการยืนยันรับรองจากงานศึกษาของ[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]] และ [[โยฮันเนส เคปเลอร์]] โดยที่กาลิเลโอได้ประดิษฐ์[[กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง]]แบบใหม่ขึ้นในปี [[ค.ศ. 1609]] ทำให้สามารถเฝ้าสังเกตดวงดาวและนำผลจากการสังเกตมาช่วยยืนยันแนวคิดนี้
 
เคปเลอร์ได้คิดค้นระบบแบบใหม่ขึ้นโดยปรับปรุงจากแบบจำลองเดิมของโคเปอร์นิคัส ทำให้รายละเอียดการโคจรต่างๆต่าง ๆ ของดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ที่ศูนย์กลางสมบูรณ์ถูกต้องมากยิ่งขึ้น แต่เคปเลอร์ก็ไม่ประสบความสำเร็จในการนำเสนอทฤษฎีนี้เนื่องจากกฎหมายในยุคสมัยนั้น จนกระทั่งต่อมาถึงยุคสมัยของ[[เซอร์ ไอแซค นิวตัน]] ผู้คิดค้นหลัก[[กลศาสตร์ท้องฟ้า]]และ[[ความโน้มถ่วง|กฎแรงโน้มถ่วง]]ซึ่งสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้อย่างสมบูรณ์ นิวตันยังได้คิดค้น[[กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง]]ขึ้นด้วย
 
การค้นพบใหม่ๆใหม่ ๆ เกิดขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ พร้อมไปกับการพัฒนาขนาดและคุณภาพของกล้องโทรทรรศน์ที่ดียิ่งขึ้น มีการจัดทำรายชื่อดาวอย่างละเอียดเป็นครั้งแรกโดย [[นิโคลัส หลุยส์ เดอ ลาซายล์|ลาซายล์]] ต่อมานักดาราศาสตร์ชื่อ [[วิลเลียม เฮอร์เชล]] ได้จัดทำรายการโดยละเอียดของ[[เนบิวลา]]และ[[กระจุกดาว]] [[ค.ศ. 1781]] มีการค้นพบ[[ดาวยูเรนัส]] ซึ่งเป็นการค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่เป็นครั้งแรก [[ค.ศ. 1838]] มีการประกาศระยะทางระหว่างดาวเป็นครั้งแรกโดย[[ฟรีดดริค เบสเซล]] หลังจากตรวจพบ[[พารัลแลกซ์]]ของดาว 61 Cygni
 
ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[เลออนฮาร์ด ออยเลอร์|ออยเลอร์]] [[อเล็กซิส คลาเราต์|คลาเราต์]] และ[[ฌอง ลารอง ดาเลมเบิร์ต|ดาเลมเบิร์ต]] ได้คิดค้นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ[[ปัญหาสามวัตถุ]] (three-body problem หรือ n-body problem) ทำให้การประมาณการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และดาวเคราะห์สามารถทำได้แม่นยำขึ้น งานชิ้นนี้ได้รับการปรับปรุงต่อมาโดย [[โจเซฟ หลุยส์ ลากรองจ์|ลากรองจ์]] และ [[ปีแยร์-ซีมง ลาปลาส|ลาปลาส]] ทำให้สามารถประเมินมวลของดาวเคราะห์และดวงจันทร์ได้
 
การค้นพบสำคัญทางดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จมากขึ้นเมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ๆใหม่ ๆ เช่น [[การถ่ายภาพ]] และ[[สเปกโตรสโคป]] เราทราบว่าดวงดาวต่างๆต่าง ๆ ที่แท้เป็น[[ดาวฤกษ์]]ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับดวงอาทิตย์ของเรานั่นเอง แต่มี[[อุณหภูมิ]] [[มวล]] และขนาดที่แตกต่างกันไป<ref>Arthur Berry (1961). ''A Short History of Astronomy From Earliest Times Through the Nineteenth Century''. New York: Dover Publications, Inc..</ref>
 
การค้นพบว่า [[ดาราจักร]]ของเราหรือ[[ดาราจักรทางช้างเผือก]]นี้ เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์ที่รวมตัวอยู่ด้วยกัน เพิ่งเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นี้เอง พร้อมกับการค้นพบการมีอยู่ของดาราจักรอื่นๆอื่น ๆ ต่อมาจึงมีการค้นพบว่า [[เอกภพ]]กำลังขยายตัว โดยดาราจักรต่างๆต่าง ๆ กำลังเคลื่อนที่ห่างออกจากเรา การศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่ยังค้นพบวัตถุท้องฟ้าใหม่ๆใหม่ ๆ อีกหลายชนิด เช่น [[เควซาร์]] [[พัลซาร์]] [[เบลซาร์]] และ[[ดาราจักรวิทยุ]] ผลจากการค้นพบเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนาทฤษฎีทางฟิสิกส์เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ของวัตถุเหล่านี้เปรียบเทียบกับวัตถุประหลาดอื่นๆอื่น ๆ เช่น [[หลุมดำ]] และ[[ดาวนิวตรอน]] ศาสตร์ทางด้าน[[ฟิสิกส์จักรวาลวิทยา]]มีความก้าวหน้าอย่างมากตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20 แบบจำลอง[[บิกแบง]]ได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานต่างๆต่าง ๆ ที่ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์ เช่น [[รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล|การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล]] [[กฎของฮับเบิล]] และการที่มี[[ธาตุ]]ต่างๆต่าง ๆ มากมายอย่างไม่คาดคิดในจักรวาลภายนอก
 
== ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ ==
บรรทัด 44:
ในทางดาราศาสตร์ [[สารสนเทศ]]ส่วนใหญ่ได้จากการตรวจหาและวิเคราะห์[[โฟตอน]]ซึ่งเป็น[[การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]<ref>[http://imagine.gsfc.nasa.gov/docs/science/know_l1/emspectrum.html "Electromagnetic Spectrum"]. NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08.</ref> แต่อาจได้จากข้อมูลที่มากับ[[รังสีคอสมิก]] [[นิวตริโน]] [[ดาวตก]] และในอนาคตอันใกล้อาจได้จาก[[คลื่นความโน้มถ่วง]]
 
การแบ่งหมวดของดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์สามารถแบ่งได้ตามการสังเกตการณ์[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]]ในย่านต่าง ๆ โดยการสังเกตการณ์บางย่านสเปกตรัมสามารถกระทำได้บนพื้นผิวโลก แต่บางย่านจะสามารถทำได้ในชั้นบรรยากาศสูงหรือใน[[อวกาศ]]เท่านั้น การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในย่านสเปกตรัมต่างๆต่าง ๆ แสดงดังรายละเอียดต่อไปนี้
 
=== ดาราศาสตร์วิทยุ ===
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์วิทยุ}}
ดาราศาสตร์วิทยุเป็นการตรวจหาการแผ่รังสีในความยาวคลื่นที่ยาวกว่า 1 [[มิลลิเมตร]] (ระดับมิลลิเมตรถึงเดคาเมตร) <ref name="allen" /> เป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่แตกต่างจากการศึกษาดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์รูปแบบอื่นๆอื่น ๆ เพราะเป็นการศึกษา[[คลื่นวิทยุ]]ซึ่งถือว่าเป็นคลื่นจริงๆจริง ๆ มากกว่าเป็นการศึกษาอนุภาค[[โฟตอน]] จึงสามารถตรวจวัดได้ทั้ง[[แอมปลิจูด]]และ[[เฟสของคลื่น]]วิทยุซึ่งจะทำได้ยากกว่ากับคลื่นที่มีความยาวคลื่นต่ำกว่านี้<ref name="allen" />
 
คลื่นวิทยุที่แผ่จากวัตถุดาราศาสตร์จำนวนหนึ่งอาจอยู่ในรูปของการแผ่รังสีความร้อน โดยมากแล้วการแผ่คลื่นวิทยุที่ตรวจจับได้บนโลกมักอยู่ในรูปแบบของ[[การแผ่รังสีซิงโครตรอน]] ซึ่งเกิดจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก<ref name="allen" /> นอกจากนี้สเปกตรัมที่เกิดจาก[[แก๊สระหว่างดาว]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นสเปกตรัมของ[[ไฮโดรเจน]]ที่ 21 เซนติเมตร จะสามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุ<ref name="shu">F. H. Shu (1982). ''The Physical Universe''. Mill Valley, California: University Science Books. ISBN 0-935702-05-9.</ref><ref name="allen" />
บรรทัด 56:
=== ดาราศาสตร์เชิงแสง ===
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์เชิงแสง}}
การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์เชิงแสงเป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด<ref name="optical">P. Moore (1997). ''Philip's Atlas of the Universe''. Great Britain: George Philis Limited. ISBN 0-540-07465-9.</ref> คือการสังเกตการณ์ท้องฟ้าด้วย[[ดวงตา]]มนุษย์ โดยอาศัยเครื่องมือช่วยบ้างเช่น [[กล้องโทรทรรศน์]] ภาพที่มองเห็นถูกบันทึกเอาไว้โดยการวาด จนกระทั่งช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงมีการบันทึกภาพสังเกตการณ์ด้วยเครื่องมือถ่ายภาพ ภาพสังเกตการณ์ยุคใหม่มักใช้อุปกรณ์ตรวจจับแบบดิจิตอล ที่นิยมอย่างมากคือ[[อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ|อุปกรณ์จับภาพแบบซีซีดี]] แม้ว่า[[แสงที่ตามองเห็น]]จะมี[[ความยาวคลื่น]]อยู่ระหว่าง 4000 [[Å]] ถึง 7000 Å (400-700 [[นาโนเมตร|nm]]) <ref name="optical" /> แต่อุปกรณ์ตรวจจับเหล่านี้ก็มักจะมีความสามารถสังเกตภาพที่มีการแผ่รังสีแบบใกล้[[อัลตราไวโอเลต]] และใกล้[[อินฟราเรด]]ได้ด้วย
 
=== ดาราศาสตร์อินฟราเรด ===
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์อินฟราเรด}}
ดาราศาสตร์อินฟราเรด เป็นการตรวจหาและวิเคราะห์การแผ่รังสีในช่วงคลื่น[[อินฟราเรด]] (คือช่วง[[ความยาวคลื่น]]ที่ยาวกว่าแสงสีแดง) ยกเว้นในช่วงคลื่นที่ใกล้เคียงกับแสงที่ตามองเห็น การแผ่รังสีอินฟราเรดจะถูก[[ชั้นบรรยากาศของโลก]]ดูดซับไปมากแล้วชั้นบรรยากาศจะปลดปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมาแทน ดังนั้นการสังเกตการณ์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดจึงจำเป็นต้องทำที่ระดับบรรยากาศที่สูงและแห้ง หรือออกไปสังเกตการณ์ในอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดมีประโยชน์มากในการศึกษาวัตถุที่เย็นเกินกว่าจะแผ่รังสีคลื่น[[แสงที่ตามองเห็น]]ออกมาได้ เช่น [[ดาวเคราะห์]] และแผ่นจานดาวฤกษ์ (circumstellar disk) ยิ่งคลื่นอินฟราเรดมีความยาวคลื่นมาก จะสามารถเดินทางผ่านกลุ่มเมฆฝุ่นได้ดีกว่าแสงที่ตามองเห็นมาก ทำให้เราสามารถเฝ้าสังเกต[[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์|ดาวฤกษ์เกิดใหม่]]ใน[[เมฆโมเลกุล]]และในใจกลางของ[[ดาราจักร]]ต่างๆต่าง ๆ ได้<ref>Staff (2003-09-11). [http://www.esa.int/esaCP/SEMX9PZO4HD_FeatureWeek_0.html "Why infrared astronomy is a hot topic"], ESA. เก็บข้อมูลเมื่อ 11 สิงหาคม 2008.</ref> โมเลกุลบางชนิดปลดปล่อยคลื่นอินฟราเรดออกมาแรงมาก ซึ่งทำให้เราสามารถศึกษาลักษณะทาง[[เคมี]]ในอวกาศได้ เช่น การตรวจพบน้ำบน[[ดาวหาง]] เป็นต้น<ref>[http://www.ipac.caltech.edu/Outreach/Edu/Spectra/irspec.html "Infrared Spectroscopy - An Overview"], NASA/IPAC. เก็บข้อมูลเมื่อ 11 สิงหาคม 2008.</ref>
 
=== ดาราศาสตร์พลังงานสูง ===
บรรทัด 67:
==== ดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลต ====
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลต}}
ดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วง[[ความยาวคลื่น]]สั้นกว่าแสงม่วง คือประมาณ 10-3200 [[Å]] (10-320 [[นาโนเมตร]]) <ref name="allen" /> แสงที่ความยาวคลื่นนี้จะถูก[[ชั้นบรรยากาศของโลก]]ดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์จึงต้องกระทำที่ชั้นบรรยากาศรอบนอก หรือในห้วงอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตจะใช้ในการศึกษาการแผ่รังสีความร้อนและเส้นการกระจายตัวของสเปกตรัมจาก[[ดาวฤกษ์]]สีน้ำเงินร้อนจัด ([[ดาวโอบี]]) ที่ส่องสว่างมากในช่วงคลื่นนี้ รวมไปถึงดาวฤกษ์สีน้ำเงินใน[[ดาราจักร]]อื่นที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการสำรวจระดับอัลตราไวโอเลต วัตถุอื่นๆอื่น ๆ ที่มีการศึกษาแสงอัลตราไวโอเลตได้แก่ [[เนบิวลาดาวเคราะห์]] [[ซากซูเปอร์โนวา]] และ[[นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์]]<ref name="allen" /> อย่างไรก็ดี แสงอัลตราไวโอเลตจะถูก[[สสารระหว่างดาว|ฝุ่นระหว่างดวงดาว]]ดูดซับหายไปได้ง่าย ดังนั้นการตรวจวัดแสงอัลตราไวโอเลตจากวัตถุจึงต้องนำมาปรับปรุงค่าให้ถูกต้องด้วย<ref name="allen" />
 
==== ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ ====
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์}}
ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ คือการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นของ[[รังสีเอ็กซ์]] โดยทั่วไปวัตถุจะแผ่รังสีเอ็กซ์ออกมาจาก[[การแผ่รังสีซิงโครตรอน]] (เกิดจากอิเล็กตรอนแกว่งตัวเป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก) จากการแผ่ความร้อนของแก๊สเบาบางที่อุณหภูมิสูงกว่า 10<sup>7</sup> [[เคลวิน]] (เรียกว่า [[การแผ่รังสี bremsstrahlung]]) และจากการแผ่ความร้อนของแก๊สหนาแน่นที่อุณหภูมิสูงกว่า 10<sup>7</sup> เคลวิน (เรียกว่า [[การแผ่รังสีของวัตถุดำ]]) <ref name="allen">A. N. Cox, editor (2000). ''Allen's Astrophysical Quantities''. New York: Springer-Verlag. ISBN 0-387-98746-0.</ref> คลื่นรังสีเอ็กซ์มักถูก[[ชั้นบรรยากาศของโลก]]ดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์ในช่วงความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์จึงทำได้โดยอาศัย[[บัลลูน]]ที่ลอยตัวสูงมากๆมาก ๆ หรือจาก[[จรวด]] หรือจาก[[ยานอวกาศ|ยานสำรวจอวกาศ]]เท่านั้น แหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ที่สำคัญได้แก่ [[ระบบดาวคู่รังสีเอ็กซ์]] [[พัลซาร์]] [[ซากซูเปอร์โนวา]] [[ดาราจักรชนิดรี]] [[กระจุกดาราจักร]] และ[[ดาราจักรกัมมันต์|แกนกลางดาราจักรกัมมันต์]]<ref name="allen" />
 
==== ดาราศาสตร์รังสีแกมมา ====
บรรทัด 80:
 
=== การสังเกตการณ์อื่นนอกเหนือจากสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ===
นอกเหนือจากการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์โดยการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแล้ว ยังมีการสังเกตการณ์อื่นๆอื่น ๆ ที่ทำได้บนโลกเพื่อศึกษาวัตถุในระยะไกลมากๆมาก ๆ
 
ในการศึกษา[[ดาราศาสตร์นิวตริโน]] นักดาราศาสตร์จะใช้ห้องทดลองใต้ดินพิเศษเช่น SAGE, GALLEX, และ Kamioka II/III เพื่อทำการตรวจจับ[[นิวตริโน]] ซึ่งเป็นอนุภาคที่เกิดจาก[[ดวงอาทิตย์]] แต่ก็อาจพบจาก[[ซูเปอร์โนวา]]ด้วย<ref name="allen" /> เราสามารถตรวจหา[[รังสีคอสมิก]]ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคพลังงานสูงได้ขณะที่มันปะทะกับชั้นบรรยากาศของโลก เครื่องมือตรวจจับนิวตริโนในอนาคตอาจมีความสามารถพอจะตรวจจับนิวตริโนที่เกิดจากรังสีคอสมิกในลักษณะนี้ได้<ref name="allen" />
บรรทัด 86:
การเฝ้าสังเกตการณ์อีกแบบหนึ่งคือการสังเกตการณ์[[คลื่นความโน้มถ่วง]] ตัวอย่างหอสังเกตการณ์ลักษณะนี้ เช่น Laser Interferometer Gravitational Observatory (LIGO) แต่การตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงยังเป็นไปได้ยากอยู่<ref>G. A. Tammann, F. K. Thielemann, D. Trautmann (2003). [http://www.europhysicsnews.com/full/20/article8/article8.html "Opening new windows in observing the Universe"]. Europhysics News. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-22.</ref>
 
นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาดาราศาสตร์ดาวเคราะห์ ซึ่งทำได้โดยการสังเกตการณ์โดยตรงผ่านยานอวกาศ รวมถึงการเก็บข้อมูลระหว่างที่ยานเดินทางผ่านวัตถุท้องฟ้าต่างๆต่าง ๆ โดยใช้เซ็นเซอร์ระยะไกล ใช้ยานสำรวจเล็กลงจอดบนวัตถุเป้าหมายเพื่อทำการศึกษาพื้นผิว หรือศึกษาจากตัวอย่างวัตถุที่เก็บมาจากปฏิบัติการอวกาศบางรายการที่สามารถนำชิ้นส่วนตัวอย่างกลับมาทำการวิจัยต่อได้
 
== ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ==
ในการศึกษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี มีการใช้เครื่องมือหลากหลายชนิดรวมถึงแบบจำลองการวิเคราะห์ต่างๆต่าง ๆ รวมถึงการจำลองแบบคำนวณทางคณิตศาสตร์ในคอมพิวเตอร์ เครื่องมือแต่ละชนิดล้วนมีประโยชน์แตกต่างกันไป แบบจำลองการวิเคราะห์ของกระบวนการจะเหมาะสำหรับใช้ศึกษาถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นอันสามารถสังเกตได้ ส่วนแบบจำลองคณิตศาสตร์สามารถแสดงถึงการมีอยู่จริงของปรากฏการณ์และผลกระทบต่างๆต่าง ๆ ที่เราอาจจะมองไม่เห็น.<ref>H. Roth, ''A Slowly Contracting or Expanding Fluid Sphere and its Stability'', ''Phys. Rev.'' ('''39''', p;525–529, 1932) </ref><ref>A.S. Eddington, ''Internal Constitution of the Stars''</ref>
 
นักดาราศาสตร์ทฤษฎีล้วนกระตือรือร้นที่จะสร้างแบบจำลองทฤษฎีเพื่อระบุถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปจากผลสังเกตการณ์ที่ได้รับ เพื่อช่วยให้ผู้สังเกตการณ์สามารถเลือกใช้หรือปฏิเสธแบบจำลองแต่ละชนิดได้ตามที่เหมาะสมกับข้อมูล นักดาราศาสตร์ทฤษฎียังพยายามสร้างหรือปรับปรุงแบบจำลองให้เข้ากับข้อมูลใหม่ๆใหม่ ๆ ในกรณีที่เกิดความไม่สอดคล้องกัน ก็มีแนวโน้มที่จะปรับปรุงแบบจำลองเล็กน้อยเพื่อให้เข้ากันกับข้อมูล ในบางกรณีถ้าพบข้อมูลที่ขัดแย้งกับแบบจำลองอย่างมากเมื่อเวลาผ่านไปนานๆนาน ๆ ก็อาจจะต้องล้มเลิกแบบจำลองนั้นไปก็ได้
 
หัวข้อต่างๆต่าง ๆ ที่นักดาราศาสตร์ทฤษฎีสนใจศึกษาได้แก่ [[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์|วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของดาวฤกษ์]] [[กำเนิดและวิวัฒนาการของดาราจักร|การก่อตัวของดาราจักร]] โครงสร้างขนาดใหญ่ของวัตถุในเอกภพ กำเนิดของ[[รังสีคอสมิก]] [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] และ[[ฟิสิกส์จักรวาลวิทยา]] รวมถึง[[ฟิสิกส์อนุภาค]]ในทางดาราศาสตร์ด้วย การศึกษาฟิสิกส์ดาราศาสตร์เป็นเสมือนเครื่องมือสำคัญที่ใช้ตรวจวัดคุณสมบัติของโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ ที่ซึ่ง[[แรงโน้มถ่วง]]มีบทบาทสำคัญต่อปรากฏการณ์ทางกายภาพต่างๆต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานของการศึกษาฟิสิกส์[[หลุมดำ]] และการศึกษา[[คลื่นแรงโน้มถ่วง]] ยังมีทฤษฎีกับแบบจำลองอื่นๆอื่น ๆ อีกซึ่งเป็นที่ยอมรับและร่วมศึกษากันโดยทั่วไป ในจำนวนนี้รวมถึง[[แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม]] ทฤษฎี[[บิกแบง]] การพองตัวของจักรวาล [[สสารมืด]] และ [[พลังงานมืด]] ซึ่งกำลังเป็นหัวข้อสำคัญในการศึกษาดาราศาสตร์ในปัจจุบัน
 
ตัวอย่างหัวข้อการศึกษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี มีดังนี้
{|
|-
|| <!--A--> '''กระบวนการทางฟิสิกส์'''
|| <!--B--> '''เครื่องมือทางดาราศาสตร์'''
|| <!--C--> '''แบบจำลองทางทฤษฎี'''
|| <!--D--> '''การทำนายปรากฏการณ์'''
|-
|| <!--A-->[[ความโน้มถ่วง]]
|| <!--B-->[[กล้องโทรทรรศน์วิทยุ]]
|| <!--C-->[[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์]]
|| <!--D-->การสิ้นอายุขัยของ[[ดาวฤกษ์]]
|-
|| <!--A--> [[นิวเคลียร์ฟิวชั่น]]
|| <!--B--> [[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]
|| <!--C--> [[การขยายตัวของเอกภพ]]
|| <!--D--> [[อายุของเอกภพ]]
|-
|| <!--A-->[[บิกแบง]]
|| <!--B-->[[สเปกโตรสโกปี]]
|| <!--C--> [[การพองตัวของจักรวาล]]
|| <!--D--> [[ความแบนของเอกภพ]]
|-
|| <!--A--> [[ความผันผวนควอนตัม]]
|| <!--B--> [[ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์]]
|| <!--C--> [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]
|| <!--D--> [[หลุมดำ]]ที่ใจกลาง[[ดาราจักรแอนดรอเมดา]]
|-
|| <!--A--> [[การยุบตัวของความโน้มถ่วง]]
|| <!--B-->
|| <!--C-->
|| <!--D--> [[นิวคลีโอซินทีสิส|การเกิดของธาตุต่าง ๆ]]
|-
|| <!--A-->
|| <!--B-->
|| <!--C-->
|| <!--D-->
|-
|}
บรรทัด 140:
{{บทความหลัก|ดวงอาทิตย์}}
 
[[ดวงอาทิตย์]] เป็นเป้าหมายการศึกษาทางดาราศาสตร์ยอดนิยมแห่งหนึ่ง อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 8 [[นาทีแสง]] เป็นดาวฤกษ์ซึ่งอยู่ใน[[แถบลำดับหลัก]]โดยเป็นดาวแคระประเภท G2 V มีอายุประมาณ 4.6 พันล้านปี ดวงอาทิตย์ของเรานี้ไม่นับว่าเป็น[[ดาวแปรแสง]] แต่มีความเปลี่ยนแปลงในการส่องสว่างอยู่เป็นระยะอันเนื่องจากจากรอบปรากฏของ[[จุดดับบนดวงอาทิตย์]] อันเป็นบริเวณที่พื้นผิวดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ำกว่าพื้นผิวอื่นๆอื่น ๆ อันเนื่องมาจากผลของความเข้มข้นสนามแม่เหล็ก<ref name="solar">Johansson, Sverker (2003-07-27). [http://www.toarchive.org/faqs/faq-solar.html "The Solar FAQ"]. Talk.Origins Archive. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-11.</ref>
 
ดวงอาทิตย์ส่องแสงสว่างมากขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ ตลอดอายุของมัน นับแต่เข้าสู่แถบลำดับหลักก็ได้ส่องสว่างมากขึ้นถึง 40% แล้ว ความเปลี่ยนแปลงการส่องสว่างของดวงอาทิตย์ตามระยะเวลานี้มีผลกระทบอย่างสำคัญต่อโลกด้วย<ref>Lerner & K. Lee Lerner, Brenda Wilmoth (2006). [http://catalog.loc.gov/cgi-bin/Pwebrecon.cgi?v3=1&DB=local&CMD=010a+2006000857&CNT=10+records+per+page "Environmental issues : essential primary sources."]. Thomson Gale. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-11.</ref> ตัวอย่างเช่นการเกิดปรากฏการณ์[[ยุคน้ำแข็งน้อย|ยุคน้ำแข็งสั้นๆสั้น ๆ]] ช่วงหนึ่ง (Little Ice Age) ระหว่างช่วงยุคกลาง ก็เชื่อว่าเป็นผลมาจาก [[Maunder Minimum]]<ref>Pogge, Richard W. (1997). [http://www-astronomy.mps.ohio-state.edu/~pogge/Lectures/vistas97.html "The Once & Future Sun"] (lecture notes). ''[http://www-astronomy.mps.ohio-state.edu/Vistas/ New Vistas in Astronomy]''. เก็บข้อมูลเมื่อ 2005-12-07. </ref>
 
พื้นผิวรอบนอกของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นเรียกว่า [[โฟโตสเฟียร์]] เหนือพื้นผิวนี้เป็นชั้นบางๆบาง ๆ เรียกชื่อว่า [[โครโมสเฟียร์]] จากนั้นเป็นชั้นเปลี่ยนผ่านซึ่งมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ชั้นนอกสุดมีอุณหภูมิสูงที่สุด เรียกว่า [[โคโรนา]]
 
ใจกลางของดวงอาทิตย์เรียกว่าย่านแกนกลาง เป็นเขตที่มี[[อุณหภูมิ]]และ[[ความดัน]]มากพอจะทำให้เกิดปฏิกิริยา[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น]] เหนือจากย่านแกนกลางเรียกว่าย่านแผ่รังสี (radiation zone) เป็นที่ซึ่ง[[พลาสมา (สถานะของสสาร)|พลาสมา]]แผ่คลื่นพลังงานออกมาในรูปของรังสี ชั้นนอกออกมาเป็นย่านพาความร้อน (convection zone) ซึ่งสสารแก๊สจะเปลี่ยนพลังงานกลายไปเป็นแก๊ส เชื่อว่าย่านพาความร้อนนี้เป็นกำเนิดของสนามแม่เหล็กที่ทำให้เกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์<ref name="solar" />
บรรทัด 154:
{{บทความหลัก|วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์}}
 
วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของ[[ดาวเคราะห์]] [[ดวงจันทร์]] [[ดาวเคราะห์แคระ]] [[ดาวหาง]] [[ดาวเคราะห์น้อย]] และวัตถุท้องฟ้าอื่นๆอื่น ๆ ที่โคจรรอบ[[ดวงอาทิตย์]] ตลอดจนถึงบรรดา[[ดาวเคราะห์นอกระบบ]]ด้วย วัตถุในระบบสุริยะจะเป็นที่นิยมศึกษาค้นคว้ามากกว่า ในช่วงแรกสามารถสังเกตการณ์ได้ผ่าน[[กล้องโทรทรรศน์]] ต่อมาจึงใช้การสังเกตการณ์โดย[[ยานอวกาศ]]มาช่วย การศึกษาสาขานี้ทำให้เราเข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบดาวเคราะห์ได้ดีขึ้น แม้จะมีการค้นพบใหม่ๆใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาก็ตาม<ref>J. F. Bell III, B. A. Campbell, M. S. Robinson (2004). ''[http://marswatch.tn.cornell.edu/rsm.html Remote Sensing for the Earth Sciences: Manual of Remote Sensing]'' (3rd ed.). John Wiley & Sons. http://marswatch.tn.cornell.edu/rsm.html. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-23.</ref>
 
วัตถุในระบบสุริยะสามารถแบ่งออกได้เป็น ดาวเคราะห์รอบใน [[แถบดาวเคราะห์น้อย]] และดาวเคราะห์รอบนอก ในกลุ่มดาวเคราะห์รอบในประกอบด้วย [[ดาวพุธ]] [[ดาวศุกร์]] [[โลก]] และ[[ดาวอังคาร]] ส่วนในกลุ่มดาวเคราะห์รอบนอกเป็นดาวแก๊สยักษ์ ได้แก่ [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] [[ดาวยูเรนัส]] [[ดาวเนปจูน]] และดาวเคราะห์หินขนาดเล็ก [[ดาวพลูโต|พลูโต]]<ref>E. Grayzeck, D. R. Williams (2006-05-11). [http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/ "Lunar and Planetary Science"]. NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-21.</ref> พ้นจากดาวเนปจูนไปจะมี[[แถบไคเปอร์]] และ[[เมฆออร์ต|กลุ่มเมฆออร์ต]] ซึ่งแผ่กว้างเป็นระยะทางถึงหนึ่ง[[ปีแสง]]
 
ดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นจากแผ่นจานฝุ่นที่หมุนวนรอบๆรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ เมื่อผ่านกระบวนการต่างๆต่าง ๆ นานาเช่น การดึงดูดของแรงโน้มถ่วง การปะทะ การแตกสลาย และการรวมตัวกัน แผ่นจานฝุ่นเหล่านั้นก็ก่อตัวเป็นรูปร่างที่เรียกว่า ดาวเคราะห์ก่อนเกิด (protoplanet) แรงดันการแผ่รังสีของ[[ลมสุริยะ]]จะพัดพาเอาสสารที่ไม่สามารถรวมตัวกันติดให้กระจายหายไป คงเหลือแต่ส่วนของดาวเคราะห์ที่มีมวลมากพอจะดึงดูดบรรยากาศชั้นแก๊สของตัวเอาไว้ได้ ดาวเคราะห์ใหม่เหล่านี้ยังมีการดึงดูดและปลดปล่อยสสารในตัวตลอดช่วงเวลาที่ถูกเศษสะเก็ดดาวย่อยๆย่อย ๆ ปะทะตลอดเวลา การปะทะเหล่านี้ทำให้เกิดหลุมบ่อบนพื้นผิวดาวเคราะห์ดั่งเช่นที่ปรากฏบนพื้นผิว[[ดวงจันทร์]] ผลจากการปะทะนี้ส่วนหนึ่งอาจทำให้ดาวเคราะห์ก่อนเกิดแตกชิ้นส่วนออกมาและกลายไปเป็นดวงจันทร์ของมันก็ได้<ref>Roberge, Aki (1997-05-05). [http://www.dtm.ciw.edu/akir/Seminar/seminar.html "Planetary Formation and Our Solar System"]. Carnegie Institute of Washington—Department of Terrestrial Magnetism. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-11.</ref>
 
เมื่อดาวเคราะห์เหล่านี้มีมวลมากพอ โดยรวมเอาสสารที่มีความหนาแน่นแบบต่างๆต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน กระบวนการนี้ทำให้ดาวเคราะห์ก่อตัวเป็นดาวแบบต่างๆต่าง ๆ คือแกนกลางเป็นหิน หรือโลหะ ล้อมรอบด้วยชั้นเปลือก และพื้นผิวภายนอก แกนกลางของดาวเคราะห์อาจเป็นของแข็งหรือของเหลวก็ได้ แกนกลางของดาวเคราะห์บางดวงสามารถสร้าง[[สนามแม่เหล็ก]]ของตัวเองขึ้นมาได้ ซึ่งช่วยปกป้องชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ดวงนั้นๆนั้น ๆ จากผลกระทบของลมสุริยะ<ref>Roberge, Aki (1998-04-21). [http://www.dtm.ciw.edu/akir/Seminar/internal.html "The Planets After Formation"]. Department of Terrestrial Magnetism. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-23.</ref>
 
ความร้อนภายในของดาวเคราะห์หรือดวงจันทร์เป็นผลจากการปะทะกันที่ทำให้เกิดโครงร่างและ[[สารกัมมันตรังสี]] (เช่น [[ยูเรเนียม]] [[ธอเรียม]] และ [[อะลูมิเนียม|<sup>26</sup>Al]] ดาวเคราะห์และดวงจันทร์บางดวงสะสมความร้อนไว้มากพอจะทำให้เกิดกระบวนการทาง[[ธรณีวิทยา]]เช่น [[ภูเขาไฟ]]และ[[แผ่นดินไหว]] ส่วนพวกที่สามารถสะสมชั้นบรรยากาศของตัวเองได้ ก็จะมีกระบวนการกัดกร่อนของลมและน้ำ ดาวเคราะห์ที่เล็กกว่าจะเย็นตัวลงเร็วกว่า และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาจะหยุดลงเว้นแต่หลุมบ่อจากการถูกชนเท่านั้น<ref>J.K. Beatty, C.C. Petersen, A. Chaikin, ed. (1999). ''The New Solar System'' (4th ed.). Cambridge press. ISBN 0-521-64587-5.</ref>
บรรทัด 172:
ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นในย่านอวกาศที่มีฝุ่นและแก๊สอยู่หนาแน่น เรียกชื่อว่า[[เมฆโมเลกุล|เมฆโมเลกุลขนาดยักษ์]] เมื่อเกิดภาวะที่ไม่เสถียร ส่วนประกอบของเมฆอาจแตกสลายไปภายใต้แรงโน้มถ่วง และทำให้เกิดเป็น[[ดาวฤกษ์ก่อนเกิด]]ขึ้น บริเวณที่มีความหนาแน่นของแก๊สและฝุ่นสูงมากพอ และร้อนมากพอ จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ซึ่งทำให้เกิดดาวฤกษ์ใน[[แถบลำดับหลัก]]ขึ้น<ref>[http://observe.arc.nasa.gov/nasa/space/stellardeath/stellardeath_intro.html "Stellar Evolution & Death"]. NASA Observatorium. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-06-08.</ref> ธาตุที่กำเนิดขึ้นในแกนกลางของดาวฤกษ์โดยมากเป็นธาตุที่หนักกว่า[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]]ทั้งสิ้น
 
คุณลักษณะต่างๆต่าง ๆ ของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับ[[มวล]]เริ่มต้นของดาวฤกษ์นั้นๆนั้น ๆ ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะมีความส่องสว่างสูง และจะใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจากแกนกลางของมันเองไปอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาผ่านไป เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหล่านี้จะค่อยๆค่อย ๆ แปรเปลี่ยนกลายไปเป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์ก็จะวิวัฒนาการไป การเกิดฟิวชั่นของฮีเลียมจะต้องใช้อุณหภูมิแกนกลางที่สูงกว่า ดังนั้นดาวฤกษ์นั้นก็จะขยายตัวใหญ่ขึ้น ขณะเดียวกันก็เพิ่มความหนาแน่นแกนกลางของตัวเองด้วย [[ดาวแดงยักษ์]]จะมีช่วงอายุที่สั้นก่อนที่เชื้อเพลิงฮีเลียมจะถูกเผาผลาญหมดไป ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าจะผ่านกระบวนการวิวัฒนาการได้มากกว่า โดยที่มีธาตุหนักหลอมรวมอยู่ในตัวเพิ่มมากขึ้น
 
การสิ้นสุดชะตากรรมของดาวฤกษ์ก็ขึ้นอยู่กับมวลของมันเช่นกัน ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรามากกว่า 8 เท่าจะแตกสลายกลายไปเป็น[[ซูเปอร์โนวา]] ขณะที่ดาวฤกษ์ที่เล็กกว่าจะกลายไปเป็น[[เนบิวลาดาวเคราะห์]] และวิวัฒนาการต่อไปเป็น[[ดาวแคระขาว]] ซากของซูเปอร์โนวาคือ[[ดาวนิวตรอน]]ที่หนาแน่น หรือในกรณีที่ดาวฤกษ์นั้นมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรากว่า 3 เท่า มันจะกลายไปเป็น[[หลุมดำ]]<ref>Jean Audouze, Guy Israel, ed. (1994). ''The Cambridge Atlas of Astronomy'' (3rd ed.). Cambridge University Press. ISBN 0-521-43438-6.</ref> สำหรับดาวฤกษ์ที่เป็น[[ระบบดาวคู่]]อาจมีวิวัฒนาการที่แตกต่างออกไป เช่นอาจมีการถ่ายเทมวลแก่กันแล้วกลายเป็นดาวแคระขาวแบบคู่ซึ่งสามารถจะกลายไปเป็นซูเปอร์โนวาได้ การเกิดเนบิวลาดาวเคราะห์และซูเปอร์โนวาเป็นการกระจายสสารธาตุออกไปสู่[[สสารระหว่างดาว]] หากไม่มีกระบวนการนี้แล้ว ดาวฤกษ์ใหม่ๆใหม่ ๆ (และระบบดาวเคราะห์ของมัน) ก็จะก่อตัวขึ้นมาจากเพียงไฮโดรเจนกับฮีเลียมเท่านั้น
 
=== ดาราศาสตร์ดาราจักร ===
บรรทัด 180:
{{บทความหลัก|ดาราศาสตร์ดาราจักร}}
 
ระบบสุริยะของเราโคจรอยู่ภายใน[[ดาราจักรทางช้างเผือก]] ซึ่งเป็น[[ดาราจักรชนิดก้นหอยมีคาน]] และเป็น[[ดาราจักร]]สมาชิกแห่งหนึ่งใน[[กลุ่มท้องถิ่น]] ดาราจักรนี้เป็นกลุ่มแก๊ส ฝุ่น ดาวฤกษ์ และวัตถุอื่นๆอื่น ๆ อีกจำนวนมากที่หมุนวนไปรอบกัน โดยมี[[แรงโน้มถ่วง]]กระทำต่อกันทำให้ดึงดูดกันไว้ ตำแหน่งของโลกอยู่ที่แขนฝุ่นกังหันด้านนอกข้างหนึ่งของดาราจักร ดังนั้นจึงมีบางส่วนของทางช้างเผือกที่ถูกบังไว้และไม่สามารถมองเห็นได้
 
ที่ใจกลางของทางช้างเผือกมีลักษณะคล้ายดุมกังหันขนาดใหญ่ ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่ตั้งของ[[หลุมดำมวลยวดยิ่ง]] รอบๆรอบ ๆ ดุมกังหันเป็นแขนก้นหอยชั้นต้นมี 4 ปลายหมุนอยู่รอบๆรอบ ๆ แกน เป็นย่านที่มีการเกิดใหม่ของดาวฤกษ์ดำเนินอยู่ มีดาวฤกษ์แบบ[[ดารากร 1]] ที่อายุเยาว์อยู่ในย่านนี้เป็นจำนวนมาก ส่วนจานของก้นหอยประกอบด้วย[[ดาราจักรชนิดก้นหอย|ทรงกลมฮาโล]] อันประกอบด้วยดาวฤกษ์แบบ[[ดารากร 2]] ที่มีอายุมากกว่า ทั้งยังเป็นที่ตั้งของกลุ่มดาวฤกษ์หนาแน่นที่เรียกกันว่า [[กระจุกดาวทรงกลม]]<ref>Ott, Thomas (2006-08-24). [http://www.mpe.mpg.de/ir/GC/index.php "The Galactic Centre"]. Max-Planck-Institut für extraterrestrische Physik. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08. </ref><ref>Faulkner, Danny R. (1993). [http://www.creationresearch.org/crsq/articles/30/30_1/StellarPop.html "The Role Of Stellar Population Types In The Discussion Of Stellar Evolution"]. CRS Quarterly 30 (1) : 174–180. http://www.creationresearch.org/crsq/articles/30/30_1/StellarPop.html. เก็บข้อมูลเมื่อ 8 September 2006. </ref>
 
ที่ว่างระหว่างดวงดาวมี[[สสารระหว่างดาว]]บรรจุอยู่ เป็นย่านที่มีวัตถุต่างๆต่าง ๆ อยู่อย่างเบาบางมาก บริเวณที่หนาแน่นที่สุดคือ[[เมฆโมเลกุล]] ซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของ[[ไฮโดรเจน]]และธาตุอื่นๆอื่น ๆ ที่เป็นย่านกำเนิดของดาวฤกษ์ ในช่วงแรกจะมีการก่อตัวเป็น[[เนบิวลามืด]]รูปร่างประหลาดก่อน จากนั้นเมื่อมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นมากๆมาก ๆ ก็จะเกิดการแตกสลายแล้วก่อตัวใหม่เป็น[[ดาวฤกษ์ก่อนเกิด]]<ref>Hanes, Dave (2006-08-24). [http://www.astro.queensu.ca/~hanes/p014/Notes/Topic_063.html "Star Formation; The Interstellar Medium"]. Queen's University. Retrieved on 2006-09-08.</ref>
 
เมื่อมีดาวฤกษ์มวลมากปรากฏขึ้นมากเข้า มันจะเปลี่ยนเมฆโมเลกุลให้กลายเป็น[[บริเวณเอชทู]]ซึ่งเป็นย่านเรืองแสงเต็มไปด้วยแก๊สและพลาสมา [[ลมดาวฤกษ์]]กับการระเบิด[[ซูเปอร์โนวา]]ของดาวเหล่านี้จะทำให้กลุ่มเมฆกระจายตัวกันออกไป แล้วเหลือแต่เพียงกลุ่มของดาวฤกษ์จำนวนหนึ่งที่เกาะกลุ่มกันเป็น[[กระจุกดาวเปิด]]อายุน้อยๆน้อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไปกระจุกดาวเหล่านี้ก็จะค่อยๆค่อย ๆ กระจายห่างกันออกไป แล้วกลายไปเป็นประชากรดาวดวงหนึ่งใน[[ทางช้างเผือก]]
 
การศึกษา[[จลนศาสตร์]]ของมวลสารในทางช้างเผือกและดาราจักรต่างๆต่าง ๆ ทำให้เราทราบว่า มวลที่มีอยู่ในดาราจักรนั้นแท้จริงมีมากกว่าสิ่งที่เรามองเห็น ทฤษฎีเกี่ยวกับ[[สสารมืด]]จึงเกิดขึ้นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นี้ แม้ว่าธรรมชาติของสสารมืดยังคงเป็นสิ่งลึกลับไม่มีใครอธิบายได้<ref>{{cite journal | author=Van den Bergh, Sidney | title=The Early History of Dark Matter | journal=Publications of the Astronomy Society of the Pacific | year=1999 | volume=111 | pages=657–660 | url=http://www.journals.uchicago.edu/doi/full/10.1086/316369 | doi=10.1086/316369 }}</ref>
 
=== ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ ===
บรรทัด 196:
การศึกษาวัตถุที่อยู่ในห้วงอวกาศอื่นนอกเหนือจากดาราจักรของเรา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ[[กำเนิดและวิวัฒนาการของดาราจักร]] การศึกษารูปร่างลักษณะและ[[การจัดประเภทของดาราจักร]] การสำรวจ[[ดาราจักรกัมมันต์]] การศึกษาการจัด[[กลุ่มและกระจุกดาราจักร]] ซึ่งในหัวข้อหลังนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำความเข้าใจกับ[[โครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล]]
 
ดาราจักรส่วนใหญ่จะถูกจัดกลุ่มตามรูปร่างลักษณะที่ปรากฏ เข้าตามหลักเกณฑ์ของการจัดประเภทดาราจักร ซึ่งมีกลุ่มใหญ่ๆใหญ่ ๆ ได้แก่ [[ดาราจักรชนิดก้นหอย]] [[ดาราจักรชนิดรี]] และ[[ดาราจักรไร้รูปแบบ]]<ref>Keel, Bill (2006-08-01). [http://www.astr.ua.edu/keel/galaxies/classify.html "Galaxy Classification"]. University of Alabama. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08. </ref>
 
ลักษณะของดาราจักรคล้ายคลึงกับชื่อประเภทที่กำหนด [[ดาราจักรชนิดรี]]จะมีรูปร่างในภาคตัดขวางคล้ายคลึงกับรูปวงรี ดาวฤกษ์จะโคจรไปแบบสุ่มโดยไม่มีทิศทางที่แน่ชัด ดาราจักรประเภทนี้มักไม่ค่อยมีฝุ่นระหว่างดวงดาวหลงเหลือแล้ว ย่านกำเนิดดาวใหม่ก็ไม่มี และดาวฤกษ์ส่วนใหญ่จะมีอายุมาก เรามักพบดาราจักรชนิดรีที่บริเวณใจกลางของ[[กระจุกดาราจักร]] หรืออาจเกิดขึ้นจากการที่ดาราจักรขนาดใหญ่สองแห่งปะทะแล้วรวมตัวเข้าด้วยกันก็ได้
บรรทัด 202:
[[ดาราจักรชนิดก้นหอย]]มักมีรูปทรงค่อนข้างแบน เหมือนแผ่นจานหมุน และส่วนใหญ่จะมีดุมหรือมีแกนรูปร่างคล้ายคานที่บริเวณใจกลาง พร้อมกับแขนก้นหอยสว่างแผ่ออกไปเป็นวง แขนก้นหอยนี้เป็นย่านของฝุ่นที่เป็นต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อายุน้อยมวลมากจะทำให้แขนนี้ส่องสว่างเป็นสีฟ้า ส่วนที่รอบนอกของดาราจักรมักเป็นกลุ่มของดาวฤกษ์อายุมาก ดาราจักร[[ทางช้างเผือก]]ของเราและ[[ดาราจักรแอนดรอเมดา]]ก็เป็นดาราจักรชนิดก้นหอย
 
[[ดาราจักรไร้รูปแบบ]]มักมีรูปร่างปรากฏไม่แน่ไม่นอน ไม่ใช่ทั้งดาราจักรชนิดรีหรือชนิดก้นหอย ประมาณหนึ่งในสี่ของจำนวนดาราจักรทั้งหมดที่พบเป็นดาราจักรชนิดไร้รูปแบบนี้ รูปร่างอันแปลกประหลาดของดาราจักรมักทำให้เกิดปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงแปลกๆแปลก ๆ ขึ้นด้วย
 
[[ดาราจักรกัมมันต์]]คือดาราจักรที่มีการเปล่งสัญญาณพลังงานจำนวนมากออกมาจากแหล่งกำเนิดอื่นนอกเหนือจากดาวฤกษ์ ฝุ่น และแก๊ส แหล่งพลังงานนี้เป็นย่านเล็กๆเล็ก ๆ แต่หนาแน่นมากซึ่งอยู่ในแกนกลางดาราจักร โดยทั่วไปเชื่อกันว่ามี[[หลุมดำมวลยวดยิ่ง]]อยู่ที่นั่นซึ่งเปล่งพลังงานรังสีออกมาเมื่อมีวัตถุใดๆใด ๆ ตกลงไปในนั้น [[ดาราจักรวิทยุ]]คือดาราจักรกัมมันต์ชนิดหนึ่งที่ส่องสว่างมากในช่วงสเปกตรัมของคลื่นวิทยุ มันจะเปล่งลอนของแก๊สออกมาเป็นจำนวนมาก ดาราจักรกัมมันต์ที่แผ่รังสีพลังงานสูงออกมาได้แก่ [[ดาราจักรเซย์เฟิร์ต]] [[เควซาร์]] และ[[เบลซาร์]] เชื่อว่าเควซาร์เป็นวัตถุที่ส่องแสงสว่างมากที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักในเอกภพ<ref>[http://imagine.gsfc.nasa.gov/docs/science/know_l1/active_galaxies.html "Active Galaxies and Quasars"]. NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08. </ref>
 
[[โครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล]]ประกอบด้วย[[กลุ่มและกระจุกดาราจักร]]จำนวนมาก โครงสร้างนี้มีการจัดลำดับชั้นโดยที่ระดับชั้นที่ใหญ่ที่สุดคือ มหากระจุกของดาราจักร เหนือกว่านั้นมวลสารจะมีการโยงใยกันในลักษณะของ[[ใยเอกภพ]]และกำแพงเอกภพ ส่วนที่ว่างระหว่างนั้นมีแต่สุญญากาศ<ref>Zeilik, Michael (2002). ''Astronomy: The Evolving Universe'' (8th ed.). Wiley. ISBN 0-521-80090-0.</ref>
บรรทัด 215:
การสังเกตการณ์[[โครงสร้างขนาดใหญ่ของเอกภพ]] เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่เรียกว่า [[จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ]] ช่วยให้เรามีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการกำเนิดและวิวัฒนาการของจักรวาล ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับพื้นฐานของจักรวาลวิทยาสมัยใหม่ ได้แก่ [[ทฤษฎีบิกแบง]] ซึ่งกล่าวว่าเอกภพของเรากำเนิดมาจากจุดเพียงจุดเดียว หลังจากนั้นจึงขยายตัวขึ้นเป็นเวลากว่า 13.7 พันล้านปีมาแล้ว หลักการของทฤษฎีบิกแบงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่การค้นพบ[[รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล]] ในปี ค.ศ. 1965
 
ตลอดช่วงเวลาการขยายตัวของเอกภพนี้ เอกภพได้ผ่านขั้นตอนของวิวัฒนาการมามากมายหลายครั้ง ในช่วงแรก ทฤษฎีคาดการณ์ว่าเอกภพน่าจะผ่านช่วงเวลา[[การพองตัวของจักรวาล]]ที่รวดเร็วมหาศาล ซึ่งเป็นหนึ่งเดียวกันและเสมอกันในทุกทิศทางในสภาวะเริ่มต้น หลังจากนั้น [[นิวคลีโอซินทีสิส]]จึงทำให้เกิดธาตุต่างๆต่าง ๆ ขึ้นมากมายในเอกภพยุคแรก
 
เมื่อมีอะตอมแรกเกิดขึ้น จึงมีการแผ่รังสีผ่านอวกาศ ปลดปล่อยพลังงานออกมาดั่งที่ทุกวันนี้เรามองเห็นเป็น[[รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล]] เอกภพขยายตัวผ่านช่วงเวลาของ[[ยุคมืด]]เพราะไม่ค่อยมีแหล่งกำเนิดพลังงานของดาวฤกษ์<ref>Hinshaw, Gary (2006-07-13). [http://map.gsfc.nasa.gov/m_uni.html "Cosmology 101: The Study of the Universe"]. NASA [[WMAP]]. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-10.</ref>
บรรทัด 221:
เริ่มมีการจัดโครงสร้างลำดับชั้นของสสารขึ้นนับแต่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของสสาร สสารที่รวมกลุ่มกันอยู่เป็นบริเวณหนาแน่นที่สุดกลายไปเป็นกลุ่มเมฆแก๊สและดาวฤกษ์ยุคแรกสุด ดาวฤกษ์มวลมากเหล่านี้เป็นจุดกำเนิดของกระบวนการแตกตัวทางไฟฟ้าซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของธาตุหนักมากมายที่อยู่ในเอกภพยุคเริ่มต้น
 
ผลจากแรงโน้มถ่วงทำให้มีการดึงดูดรวมกลุ่มกันเกิดเป็น[[ใยเอกภพ]] มีช่องสุญญากาศเป็นพื้นที่ว่าง หลังจากนั้นโครงสร้างของแก๊สและฝุ่นก็ค่อยๆค่อย ๆ รวมตัวกันเกิดเป็นดาราจักรยุคแรกเริ่ม เมื่อเวลาผ่านไป มันดึงดูดสสารต่างๆต่าง ๆ เข้ามารวมกันมากขึ้น และมีการจัดกลุ่มโครงสร้างเข้าด้วยกันเป็น[[กลุ่มและกระจุกดาราจักร]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างขนาดใหญ่คือมหากระจุกดาราจักร<ref>[http://www.damtp.cam.ac.uk/user/gr/public/gal_lss.html "Galaxy Clusters and Large-Scale Structure"]. University of Cambridge. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08. </ref>
 
โครงสร้างพื้นฐานที่สุดของจักรวาลคือการมีอยู่ของ[[สสารมืด]]และ[[พลังงานมืด]] ในปัจจุบันเราเชื่อกันว่าทั้งสองสิ่งนี้มีอยู่จริง และเป็นส่วนประกอบถึงกว่า 96% ของความหนาแน่นทั้งหมดของเอกภพ เหตุนี้การศึกษาฟิสิกส์ในยุคใหม่จึงเป็นความพยายามทำความเข้าใจกับองค์ประกอบเหล่านี้<ref>Preuss, Paul. [http://www.lbl.gov/Science-Articles/Archive/dark-energy.html "Dark Energy Fills the Cosmos"]. U.S. Department of Energy, Berkeley Lab. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08. </ref>
บรรทัด 230:
* [[โบราณดาราศาสตร์]] (Archaeoastronomy) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการดาราศาสตร์ในยุคโบราณหรือยุคดั้งเดิม โดยพิจารณาถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรม อาศัยหลักฐานในทาง[[โบราณคดี]]และ[[มานุษยวิทยา]]เข้ามาช่วย
* [[ชีววิทยาดาราศาสตร์]] (Astrobiology) เป็นการศึกษาการมาถึงและวิวัฒนาการของระบบ[[ชีววิทยา]]ในเอกภพ ที่สำคัญคือการศึกษาและตรวจหาความเป็นไปได้ของสิ่งมีชีวิตในโลกอื่น
* [[เคมีดาราศาสตร์]] (Astrochemistry) เป็นการศึกษาลักษณะทาง[[เคมี]]ที่พบในอวกาศ นับแต่การก่อตัว การเกิดปฏิกิริยา และการสูญสลาย มักใช้ในการศึกษา[[เมฆโมเลกุล]] รวมถึงดาวฤกษ์อุณหภูมิต่ำต่างๆต่าง ๆ เช่น [[ดาวแคระน้ำตาล]]และ[[ดาวเคราะห์]] ส่วน [[เคมีจักรวาล]] (Cosmochemistry) เป็นการศึกษาลักษณะทางเคมีที่พบใน[[ระบบสุริยะ]] รวมถึงกำเนิดของ[[ธาตุ]]และการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของ[[ไอโซโทป]] ทั้งสองสาขานี้คาบเกี่ยวกันระหว่างศาสตร์ทางเคมีและดาราศาสตร์
 
นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับ [[การวัดตำแหน่งดาว]] (Astrometry) และ[[กลศาสตร์ท้องฟ้า]] (Celestial Mechanics) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับตำแหน่งและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า การระบุพิกัดและ[[จลนศาสตร์]]ของวัตถุท้องฟ้า ลักษณะของ[[วงโคจร]] [[ความโน้มถ่วง]] และอื่นๆอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชา[[กลศาสตร์]]และ[[ฟิสิกส์]]
 
== ดาราศาสตร์สมัครเล่น ==
บรรทัด 250:
นับแต่อดีตมา นักดาราศาสตร์สมัครเล่นได้สังเกตพบวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญมากมายด้วยเครื่องมือที่พวกเขาสร้างขึ้นมาเอง เป้าหมายในการสังเกตการณ์ของนักดาราศาสตร์สมัครเล่นโดยมากได้แก่ [[ดวงจันทร์]] [[ดาวเคราะห์]] [[ดาวฤกษ์]] [[ดาวหาง]] [[ฝนดาวตก]] และวัตถุในห้วงอวกาศลึกอีกจำนวนหนึ่งเช่น [[กระจุกดาว]] [[กระจุกดาราจักร]] หรือ[[เนบิวลา]] สาขาวิชาย่อยสาขาหนึ่งของดาราศาสตร์สมัครเล่น คือการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการถ่ายภาพในท้องฟ้ายามราตรี นักดาราศาสตร์สมัครเล่นส่วนมากจะเจาะจงเฝ้าสังเกตวัตถุท้องฟ้าหรือปรากฏการณ์บางอย่างที่พวกเขาสนใจเป็นพิเศษ<ref>{{cite web | url=http://www.amsmeteors.org/ | title = The Americal Meteor Society | accessdate = 2006-08-24 }}</ref><ref>{{cite web | first=Jerry | last=Lodriguss | url=http://www.astropix.com/ | title = Catching the Light: Astrophotography | accessdate = 2006-08-24 }}</ref>
 
ส่วนใหญ่แล้วนักดาราศาสตร์สมัครเล่นจะสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ใน[[คลื่นที่ตามองเห็น]] แต่ก็มีการทดลองเล็กๆเล็ก ๆ อยู่บ้างที่กระทำในช่วงคลื่นอื่นนอกจากคลื่นที่ตามองเห็น เช่นการใช้[[ฟิลเตอร์]]แบบอินฟราเรดติดบน[[กล้องโทรทรรศน์]] หรือการใช้[[กล้องโทรทรรศน์วิทยุ]] เป็นต้น นักดาราศาสตร์สมัครเล่นผู้บุกเบิกในการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุ คือ คาร์ล แจนสกี (Karl Jansky) ผู้เริ่มเฝ้าสังเกตท้องฟ้าในช่วงคลื่นวิทยุตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 ยังมีนักดาราศาสตร์สมัครเล่นอีกจำนวนหนึ่งที่ใช้กล้องโทรทรรศน์ประดิษฐ์เองที่บ้าน หรือใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุที่แต่เดิมสร้างมาเพื่องานวิจัยทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันได้เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าไปใช้งานได้ด้วย<ref>{{cite web | author=F. Ghigo | date = 2006-02-07 | url=http://www.nrao.edu/whatisra/hist_jansky.shtml | title = Karl Jansky and the Discovery of Cosmic Radio Waves | publisher = National Radio Astronomy Observatory | accessdate = 2006-08-24 }}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.users.globalnet.co.uk/~arcus/cara/ | title = Cambridge Amateur Radio Astronomers | accessdate = 2006-08-24 }}</ref>
 
มีบทความทางดาราศาสตร์มากมายที่ส่งมาจากนักดาราศาสตร์สมัครเล่น อันที่จริงแล้ว นี่เป็นหนึ่งในไม่กี่สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่มือสมัครเล่นก็สามารถมีส่วนร่วมหรือเขียนบทความสำคัญๆสำคัญ ๆ ขึ้นมาได้ นักดาราศาสตร์สมัครเล่นสามารถตรวจวัดวงโคจรโดยละเอียดของ[[ดาวเคราะห์]]ขนาดเล็กได้ พวกเขาค้นพบดาวหาง และทำการเฝ้าสังเกต[[ดาวแปรแสง]] ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิตอลทำให้นักดาราศาสตร์สมัครเล่นมีความสามารถในการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น และหลายๆหลาย ๆ ภาพก็เป็นภาพปรากฏการณ์อันสำคัญทางดาราศาสตร์ด้วย<ref>{{cite web | url=http://www.lunar-occultations.com/iota/iotandx.htm | title = The International Occultation Timing Association | accessdate = 2006-08-24 }}</ref><ref>{{cite web | url=http://cfa-www.harvard.edu/ep/comet/comet6.html | title = Edgar Wilson Award | publisher = Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics | accessdate = 2006-08-24 }}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.aavso.org/ | title = American Association of Variable Star Observers | publisher = AAVSO | accessdate = 2006-08-24 }}</ref>
 
== ปีดาราศาสตร์สากล 2009 ==
บรรทัด 259:
ปี [[ค.ศ. 2009]] เป็นปีที่ครบรอบ 400 ปี นับจาก[[กาลิเลโอ]]ได้ประดิษฐ์[[กล้องโทรทรรศน์]]ขึ้นเพื่อทำการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ และพบหลักฐานยืนยัน[[แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล]]ที่นำเสนอโดย [[นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส]] ไม่นานก่อนหน้านั้น การค้นพบนี้ถือเป็นการปฏิวัติแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ[[เอกภพ|จักรวาล]] และเป็นการบุกเบิกการศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นตามที่เทคโนโลยีของกล้องโทรทรรศน์พัฒนาขึ้น
 
[[องค์การสหประชาชาติ]]จึงได้ประกาศให้ปี ค.ศ. 2009 เป็น'''[[ปีดาราศาสตร์สากล]]''' โดยได้ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2008 กิจกรรมต่างๆต่าง ๆ ดำเนินการโดย[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]] และได้รับการสนับสนุนจาก[[องค์การยูเนสโก]] ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสหประชาชาติที่รับผิดชอบงานด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการที่กรุง[[ปารีส]] ในวันที่ 15-16 มกราคม ค.ศ. 2009<ref>[http://living.oneindia.in/insync/2008/international-year-astronomy-311208.html "International Year Of Astronomy 2009"]. Oneindia (Dec 30, 2008). เก็บข้อมูลเมื่อ 9 มกราคม 2009. </ref>
 
== ดูเพิ่ม ==