ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาการคอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kowito (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
'''วิทยาการคอมพิวเตอร์''' หรือ '''วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|Computer science}}) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎี[[การคำนวณ]]สำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎี[[การประมวลผลสารสนเทศ]] ทั้งด้าน[[ซอฟต์แวร์]] [[อุปกรณ์คอมพิวเตอร์|ฮาร์ดแวร์]] และ [[เครือข่าย]] ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ[[คอมพิวเตอร์]] ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์[[ขั้นตอนวิธี]] ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎี[[ภาษาโปรแกรม]] ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎี[[เครือข่าย]]
 
ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้า[[สาขาวิชาคอมพิวเตอร์]] ซึ่งประกอบด้วย สาขา[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขา[[วิศวกรรมคอมพิวเตอร์]] สาขา[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]] สาขา[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
== ประวัติของชื่อ ==
บรรทัด 16:
 
== ผู้บุกเบิก ==
* [[ชาร์ลส แบบเบจ]] ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข
* [[จอห์น แบกคัส]] ผู้คิดค้น [[ภาษาฟอร์แทรน]]
* [[อลอนโซ เชิร์ช]] ผู้พัฒนาพื้นฐานของ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี]]
* [[เจมส์ ดับเบิลยู คูลีย์]] ([[:en:James W. Cooley|James W. Cooley]]) และ [[จอหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์]] ([[:en:John W. Tukey|John W. Tukey]] คิดค้น) [[ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว]] <!--[[:en:Cooley-Tukey FFT algorithm]]--> ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
* [[โอเล-โจฮาน ดาห์ล]] ([[:en:Ole-Johan Dahl|Ole-Johan Dahl]]) และ [[เคียสเทน ไนก์อาร์ด]] ([[:en:Kristen Nygaard|Kristen Nygaard]]) คิดค้น[[ภาษา SIMILA]] <!--[[:en:SIMULA]]--> ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิง (กึ่ง) วัตถุ
บรรทัด 38:
 
== สาขาหลัก ==
วิทยาการคอมพิวเตอร์คือการศึกษา[[แนวคิด]] และทำการ[[พิสูจน์อย่างมีแบบแผน]]เพื่ออธิบายระบบและกระบวนการขั้นตอนในการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ดิจิตัลอื่นๆดิจิตัลอื่น
วัตถุประสงค์ของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นไม่ต่างจากวิทยาศาสตร์สาขาอื่น คือ เพื่อให้ทฤษฎีที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาถูกนำมาใช้ในการสร้างอุปกรณ์และนวัตกรรมที่ใช้ได้ในสถานการณ์จริง ซึ่งอาจนำมาสู่ระบบใหม่ๆใหม่ ๆ ที่รองรับการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อต่อยอดในสาขาวิชาต่อไป
 
=== พื้นฐานคณิตศาสตร์ ===
* [[คณิตตรรกศาสตร์]]
* [[วิยุตคณิต]] หรือ ภินทนคณิตศาสตร์ (Discrete mathematics)
* [[ทฤษฎีกราฟ]] <!-- Graph theory -->
บรรทัด 78:
 
=== ระบบข้อมูลและสารสนเทศ ===
* [[โครงสร้างข้อมูล]] (Data structures )
* [[การบีบอัดข้อมูล]] (Data compression )
* [[ฐานข้อมูล]] (Database )
* [[การวิเคราะห์และออกแบบระบบ]] (System Analysis and Design )
* [[ตัวแปลภาษา]] (Compiler )
* [[คลังข้อมูล]] (Data Warehouse )
 
=== ระเบียบวิธีคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ ===
* [[ปัญญาประดิษฐ์]] (Artificial intelligence )
* วิชา[[เรขภาพคอมพิวเตอร์]] (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์) (Computer graphics )
* [[การประมวลผลภาพ]] (Image processing ) และ [[คอมพิวเตอร์วิทัศน์]] (Computer vision )
* [[การรู้จำแบบ]] (Pattern recognition )
** [[การรู้จำคำพูด]] (Speech recognition )
** [[การรู้จำภาพ]] (Image recognition )
* [[การประมวลผลเอกสาร]]และ[[การประมวลผลข้อความ|ข้อความ]] (Document processing , Text processing )
* [[การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล]] (Digital signal processing )
* [[การค้นคืนสารสนเทศ]] (Information retrieval )
* [[การทำเหมืองข้อมูล]] (Data Mining )
** [[การทำเหมืองข้อความ]] (Text Mining )
 
=== ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ===
บรรทัด 118:
 
== สาขาที่เกี่ยวข้อง ==
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับสาขาอื่นๆอื่น ๆ อีกหลายศาสตร์ ถึงแม้ว่าในแต่ละศาสตร์ จะครอบคลุมเนื้อหาที่เหมือนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัด แต่ว่าแต่ละศาสตร์ หรือสาขาก็จะมีลักษณะสำคัญ และระดับของการศึกษ การวิจัย และการประยุกต์ใช้แตกต่างกันไปจากสาขาอื่นๆอื่น ๆ
* [[วิศวกรรมคอมพิวเตอร์]] เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสาร ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรม
* [[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]] (วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระบวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเริ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, การทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์
* [[วิทยาการสารสนเทศ]] ([[สารสนเทศศาสตร์]]) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, [[การค้นคืน]], การสร้าง, การโต้ตอบ, การสื่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
* [[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม
* [[ระบบสารสนเทศ]] เป็นการศึกษาการใช้งานคอมพิวเตอร์ สำหรับระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ในการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานต่างๆต่าง ๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต์ใช้งานนั้น จะมีความหมายครอบคลุมถึง การออกแบบ, ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือ[[ข้อมูล]]
** [[ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ]] เป็นสาขาย่อยของระบบสารสนเทศ โดยจะเน้นที่ระบบสารสนเทศ ที่จัดการเกี่ยวกับการบริหารจัดการ[[การเงิน]] และบุคลากร
 
บรรทัด 136:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิตำรา|ชั้นหนังสือ วิทยาการคอมพิวเตอร์}}
{{Commonscatคอมมอนส์-หมวดหมู่|Computer science}}
* [http://www.siit.tu.ac.th/thai/cs.html วิทยาการคอมพิวเตอร์คืออะไร] ข้อมูลจากเว็บไซต์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
 
[[หมวดหมู่:ปัญญาประดิษฐ์]]