ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัสสตทิฐิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''สัสสตทิฐิ''' (อ่านว่า สัดสะตะทิถิ) แปลว่า ''ความเห็นว่าเที่ยง'' เป็น[[ทิฐิ]]ที่ตรงกันข้ามกับ '''[[อุจเฉททิฐิ]]''' (ความเห็นว่าขาดสูญ) [[ศาสนาพุทธ]]ถือว่าทั้งสัสสตทิฐิและอุจเฉททิฐิเป็น[[มิจฉาทิฐิ]]
 
'''สัสสตทิฐิ''' เป็นลัทธิความเห็นที่มีมาก่อน[[สมัยพุทธกาล]] โดยเห็นว่า[[อัตตา]]หรือ[[ตัวตน]]เป็นสิ่งเที่ยงแท้ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่ขาดสูญ แม้ตายแล้วก็เพียงร่างกายเท่านั้นที่สลายหรือตายไป แต่สิ่งที่เรียกว่าอาตมันหรือ[[อัตตา]] [[ชีวะ]] [[เจตภูติ]] ยังเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย ไม่มีวันสูญ จะไปถือเอาปฏิสนธิในกำเนิดของภพอื่นต่อไป
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]], [http://www.84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%CA%D1%CA%CA%B5%B7%D4%AF%B0%D4&original=1 สัสสตทิฏฐิ], พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด, ''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศาสนา]]