ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งชื่อทวินาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.96.182.17 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzerobot
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม''' ({{lang-en|Binomial nomenclature}}) เป็นระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ ชื่อแต่ละชื่อในระบบนี้เรียกว่า '''ชื่อทวินาม''' (Binomial name) หรือ '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' (Scientific name) คือชื่อที่ใช้เรียกแทน[[สิ่งมีชีวิต]]ใน[[สปีชีส์]]ต่างๆต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ ชื่อทวินามจะเป็น[[ภาษาละติน]] ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ [[สกุล]] และ สปีชีส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ต้องการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกันออกไปบ้าง
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 10:
# ชื่อทวินามมักจะถูกพิมพ์ด้วยตัวเอน เช่น ''Homo sapiens'' หากเป็นการเขียนด้วย[[ลายมือ]]ควร<u>ขีดเส้นใต้</u>ลงไปแทน
# คำศัพท์คำแรก (ชื่อสกุล) ต้องขึ้นต้นด้วย[[อักษรตัวใหญ่]]เสมอ นอกจากนั้นใช้[[อักษรตัวเล็ก]]ทั้งหมด<ref>{{cite book | url = http://books.google.com/books?id=hVUU7Gq8QskC&pg=PA198&lpg=PA198&dq=species+epithet+capitalize&source=web&ots=ZfKJlIi2wd&sig=Bj1UD_8qwoWdEmjL5IXIQycEeF8&hl=en | pages = 198 | title = Writing for Science and Engineering: Papers, Presentation | author = Heather Silyn-Roberts | year = 2000 | isbn = 0750646365}}</ref><ref>{{cite web | url = http://ibot.sav.sk/icbn/frameset/0065Ch7OaGoNSec1a60.htm#recF | title = Recommendation 60F | work = [[International Code of Botanical Nomenclature]], Vienna Code | year = 2006 | pages = 60F.1}}</ref>เช่น ''Canis lupus'' หรือ ''Anthus hodgsoni'' แต่สำหรับสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อทวินามไว้ก่อนหน้า[[ศตวรรษที่ 20]] และขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่อยู่แล้ว ไม่ต้องเขียนเป็นตัวเล็กอีก เช่น ''Carolus Linnaeus''
# ในสปีชีส์ย่อย ชื่อจะประกอบด้วยสามส่วนและสามารถเขียนได้สองแบบ โดยพืชและสัตว์จะเขียนต่างกัน<ref>Frank A. Bisby, [http://www.nhm.ac.uk/hosted_sites/tdwg/plants.html Plant Names in Botanical Databases], Plant Taxonomic Database Standards No. 3, Version 1.00, December 1994, Published for the [[International Working Group on Taxonomic Databases]] for Plant Sciences (TDWG) by the Hunt Institute for Botanical Documentation, Carnegie Mellon University, Pittsburgh</ref> เช่น
#* [[เสือโคร่งเบงกอล]]คือ ''Panthera tigris tigris'' และ [[เสือโคร่งไซบีเรีย]]คือ ''Panthera tigris altaica''
#* ต้นเอลเดอร์ดำยุโรปคือ ''Sambucus nigra'' subsp. ''nigra'' และเอลเดอร์ดำอเมริกาคือ ''Sambucus nigra'' subsp. ''canadensis''
# ในตำราเรียน มักมีชื่อสกุลย่อ หรือชื่อสกุลเต็มของนักวิทยาศาสตร์ผู้จัดทำชื่อนั้นต่อท้าย โดยชื่อสกุลย่อใช้กับพืช ส่วนชื่อสกุลเต็มใช้กับสัตว์ ในบางกรณีถ้าชื่อสปีชีส์เคยถูกกำหนดให้ชื่อสกุลที่ต่างออกไปจากชื่อในปัจจุบัน จะคร่อมชื่อสกุลนักวิทยาศาสตร์กับปีที่จัดทำไว้ เช่น ''Amaranthus retroflexus'' [[คาโรลัส ลินเนียส|L.]], ''Passer domesticus'' ([[คาโรลัส ลินเนียส|Linnaeus]], 1758) ที่ใส่วงเล็บเพราะในอดีตชื่อหลังอยู่ในสกุล ''Fringilla''
# หากใช้กับชื่อสามัญ เรามักใส่ชื่อทวินามไว้ในวงเล็บต่อท้ายชื่อสามัญ เช่น "นกกระจอกบ้าน (''Passer domesticus'') กำลังมีจำนวนลดลงอย่างน่าตกใจ"
# การเขียนชื่อทวินามเป็นครั้งแรกในรายงานหรือสิ่งพิมพ์ เราเขียนเป็นชื่อเต็มก่อน หลังจากนั้นเราสามารถย่อชื่อสกุลให้สั้นลงเป็นอักษรตัวแรกของชื่อสกุลและตามด้วยจุด เช่น ''Canis lupus'' ย่อเป็น ''C. lupus'' ด้วยเหตุที่เราสามารถย่อชื่อในลักษณะนี้ได้ ทำให้ชื่อย่อเป็นที่รู้จักและกล่าวถึงมากกว่าชื่อเต็ม เช่น ''T. Rex'' คือ ''Tyrannosaurus rex'' หรือ ''E. coli'' คือ ''Escherichia coli'' เป็นต้น
# บางกรณี เราเขียน "sp." (สำหรับสัตว์) หรือ "spec." (สำหรับพืช) ไว้ท้ายชื่อสกุล ในกรณีที่ไม่ต้องการเจาะจงชื่อ[[สปีชีส์]] และเขียน "spp." ในกรณีที่ต้องการกล่าวถึงหลายสปีชีส์ ตัวอย่างเช่น "''Canis'' sp.", หมายถึงสปีชีส์หนึ่งในสกุล ''Canis''
# สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งอาจมีชื่อวิทยาศาสตร์มากกว่าหนึ่งชื่อ ให้ใช้ชื่อตั้งขึ้นก่อนเป็นชื่อหลัก ส่วนชื่ออื่นเป็นชื่อพ้อง<ref name="ชีววิทยา ม.6">ผศ.ประสงค์ หลำสะอาด และ ผศ.ดร.จิตเกษม หลำสะอาด, ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5, บริษัท สำนักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จำกัด, หน้า 259-260</ref>
# ชื่อวิทยาศาสตร์มักจะบอกลักษณะบางอย่างกับสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น<ref name="ชีววิทยา ม.6"/> ดังเช่น