ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่อิโวะจิมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล การรบ
| ชื่อการรบ= ยุทธการที่อิโวะจิมะ
| สงคราม=[[สงครามโลกครั้งที่สอง]], [[สงครามแปซิฟิก]]
| image=[[ไฟล์:37mm Gun fires against cave positions at Iwo Jima.jpg|275px]]
| caption= ปืนใหญ่ 37 มม. ของสหรัฐยิงใส่ที่ตั้งถ้ำของญี่ปุ่นแนวด้านทิศเหนือของ[[ภูเขาสุริบะชิ]]
| date=19 กุมภาพันธ์ – 26 มีนาคม 1945
| place=[[อิโวะจิมะ]], [[หมู่เกาะโวลเคโน]]
| result= อเมริกาชนะ
| combatant1={{flag|สหรัฐอเมริกา|1912}}
| combatant2={{flag|จักรวรรดิญี่ปุ่น}}
| commander1={{Flagicon|USA|1912}} [[Holland Smith|ฮอลแลนด์ สมิท]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Marc Mitscher|มาร์ค มิตเชอร์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Graves B. Erskine|เกรฟส์ บี. เออร์สคีน]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Clifton Cates|คลิฟตอน เคตส์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Keller E. Rockey|เคลเลอร์ อี. ร็อกกี]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Chester W. Nimitz|เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Raymond A. Spruance|เรย์มอนด์ เอ. สปรูแอนซ์]]
| commander2={{Flagicon|Empire of Japan}} [[Tadamichi Kuribayashi|ทะดะมิชิ คุริบะยะชิ]]{{KIA}}<br>{{Flagicon|Empire of Japan}} [[Takeichi Nishi|ทะเคชิ นิชิ]]{{KIA}}
| strength1= นาวิกโยธินสหรัฐ เหล่าพยาบาล (corpsmen) กองทัพเรือสหรัฐ ฯลฯ และทหารอากาศกองทัพอากาศสหรัฐ 70,000 นาย
| strength2= 22,060 นาย<ref name=Burrell83/>
| casualties1= เสียชีวิต 6,821 นาย<br>ถูกจับแต่ได้กลับคืน 2 นาย<ref name="morison"/><br>บาดเจ็บ 19,217 นาย<ref name=Burrell83/> เรือบรรทุกคุ้มกันจม 1 ลำ
| casualties2= เสียชีวิต 18,844 นาย<ref name=Burrell83/><br>ถูกจับเป็นเชลย 216 นาย<ref name=Burrell83/><br>
ซ่อนตัว ~3,000 นาย<ref>[[John Toland (author)|John Toland]], ''[[The Rising Sun: The Decline and Fall of the Japanese Empire, 1936–1945]]'', page 669</ref>}}
{{Campaign Ryukyus}}
บรรทัด 22:
 
ที่ตั้งของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นบนเกาะมีป้อมค่ายหนาแน่น โดยมีเครือข่ายบังเกอร์ ที่มั่นปืนใหญ่ซ่อน และอุโมงค์ใต้ดิน 18 กิโลเมตร<ref name=WW2MMDb_Letters>{{cite web|url=http://www.worldwar2database.com/html/letters_from_iwo_jima.htm|title=Letters from Iwo Jima|publisher=World War II Multimedia Database}}</ref><ref name=BattleFleet_IwoDefense>{{cite web|url=http://www.battle-fleet.com/pw/his/Battle-Iwo-Jima-Defense.htm|title=Battle of Iwo Jima—Japanese Defense|work=World War II Naval Strategy}}</ref> ทหารอเมริกันภาคพื้นได้รับการสนับสนุนจากปืนใหญ่กองทัพเรืออย่างกว้างขวางและความเป็นเจ้าอากาศเบ็ดเสร็จเหนืออิโวะจิมะตั้งแต่เริ่มยุทธการโดยนักบินของกองทัพเรือสหรัฐและเหล่านาวิกโยธิน<ref>{{cite video
| date = 19 March 1945
| title = Video: Carriers Hit Tokyo! 1945/03/19 (1945)
| url =http://www.archive.org/details/1945-03-19_Carriers_Hit_Tokyo
| publisher =[[Universal Newsreel]]
| accessdate = 22 February 2012}}
</ref>
 
อิโวะจิมะยังเป็นยุทธการเดียวสำหรับเหล่านาวิกโยธินสหรัฐที่กำลังพลสูญเสียของฝ่ายอเมริกันสูงกว่าญี่ปุ่น แม้การเสียชีวิตจากการสู้รบของฝ่ายญี่ปุ่นคิดเป็นสามเท่าของจำนวนผู้เสียชีวิตฝ่ายอเมริกัน<ref name= "O'Brien">{{cite web|first=Cyril J.|last=O'Brien|title=Iwo Jima Retrospective|url= http://www.military.com/NewContent/0,13190, NI_Iwo_Jima2, 00.html|accessdate=21 June 2007| archiveurl= http://web.archive.org/web/20070607061101/http://www.military.com/NewContent/0,13190, NI_Iwo_Jima2, 00.html| archivedate= 7 June 2007 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> จากทหารญี่ปุ่น 22,000 นายบนอิโวะจิมะ มีถูกจับเป็นเชลยเพียง 216 นาย ซึ่งบางส่วนถูกจับเพราะถูกทำให้หมดสติไม่ก็ถูกทำให้พิการ<ref name= Burrell83>Burrell 2006, p. 83. [http://books.google.com/books?id=K8J4wkgcqCIC&pg=PA83 Burrell talks] about how many historians have overestimated the number Japanese defenders, with 20,000 and even 25,000 listed. Burrell puts the range between 18,060 and 18,600, with exactly 216 of these taken prisoner during the course of the battle.</ref> ที่เหลือส่วนใหญ่ตายในการรบ แม้มีประเมินว่า มากถึง 3,000 นายยังคงต่อต้านในระบบถ้ำต่าง ๆ อีกหลายวันให้หลัง จนสุดท้ายจำนนต่อการบาดเจ็บหรือยอมจำนนอีกหลายสัปดาห์ต่อมา<ref name=Burrell83/><ref>John Toland, Rising Sun - The Decline and Fall of the Japanese Empire 1936-1945, page 669</ref>
 
แม้การสู้รบนองเลือดและกำลังพลสูญเสียอย่างรุนแรงทั้งสองฝ่าย แต่การพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นรับประกันตั้งแต่ต้น ความเหนือกว่าท่วมท้นของอเมริกันทั้งด้านอาวุธและจำนวน ตลอดจนการควบคุมอำนาจทางอากาศเบ็ดเสร็จ กอปรกับการที่ญี่ปุ่นไม่สามารถถอยหรือได้รับกำลังเพิ่มเติม ทำให้ไม่มีกรณีแวดล้อมที่เป็นไปได้ซึ่งฝ่ายอเมริกันจะแพ้ยุทธการ<ref>Adrian R. Lewis, ''The American Culture of War. The History of U.S. Military Force from World War II to Operation Iraqi Freedom'', New York 2007, p. 59</ref>