ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบราณคดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิงและใส่หมวดบทความภาษาไทยและวิธีทางโบราณคดี
บรรทัด 3:
'''โบราณคดี''' ({{lang-en|Archaeology}}) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของ[[มนุษย์]] โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการขุดค้น ([[โบราณวัตถุ]]) การขุดแต่ง ([[โบราณสถาน]]) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ([[ศิลาจารึก]] [[จดหมายเหตุ]] [[พงศาวดาร]]) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบด้วยเพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ [[ธรณีวิทยา]] [[สัตววิทยา]] [[พฤกษศาสตร์]] [[เรณูวิทยา]] [[การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์]] เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไทย
 
แนวทางการ== วิธีการศึกษาวิชาทางโบราณคดี โดยทั่วไปจำแนกได้ 6 ลำดับคือ==
การศึกษาโบราณคดี เปนการศึกษาแบบวิทยาศาสตรแขนงหนึ่งเชนเดียวกับการศึกษาทางสังคมศาสตรการศึกษาทางโบราณคดีเปนการศึกษาจากหลักฐานตางๆ ดังกลาว
# ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารต่างๆ
มาแลว การที่จะทราบเรื่องราวของมนุษย์ในยุคใดในสมัยใดได้ละเอียดมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับหลักฐานที่พบการแปลความหมายและการวางตัวเป็นกลาง
# การออกสำรวจภาคสนาม
ไม่มีอคติในเรื่องของชาตินิยมของนักโบราณคดีเรื่องราวที่ได้จึงจะถูกต้องกับความเป็นจริงมากที่สุดจึงจะถูกตองตรงกับความเปนจริงมากที่สุด
# การขุดสำรวจเพื่อประเมินความสำคัญของแหล่ง
; โบราณคดีอาจแบงออกเปน 4 ขั้นตอน คือ<ref>[http://www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/02/11.pdf โบราณคดี (Archeology)]</ref>
# การขุดค้นทางโบราณคดี
# การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการขุดค้น
# การสังเคราะห์ข้อมูล และ ตีความเรื่องราวของแหล่งโบราณคดีนั้นๆ
 
; 1. การสํารวจ (survey)
โบราณคดี มาจากคำสันสกฤต 2 คำ คือ "ปุราณะ" (เก่า) สมาสกับ "คตี" (เรื่องราว) แปลตามรูปศัพท์ว่า "เรื่องราวเก่าแก่" ซึ่งมีนัยหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวสมัยโบราณนั่นเอง
เปนการตรวจหาแหลงโบราณคดี อาจทําไดโดยการ
ตรวจสอบจากภาพถายทางอากาศ
การศึกษาจากเอกสารและการเดินสํารวจเพื่อเปนการ
รวบรวมหลักฐานสําหรับประเมินคาของแหลงโบราณคดีนั้นๆ ในการวางแผนขุดคนตอไป
; 2. การขุดคน (excavation)
เปนกรรมวิธีขั้นที่สองของการศึกษาทางโบราณคดี
เพื่อให้ได้หลักฐานที่ถูกต้องมากที่สุด การขุดค้นจะต้องทำอย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เป็นการ
ื่อใหไดหลักฐานที่ถูกตองมากที่สุด การขุดคนจะตองทําอยางระมัดระวัง เพื่อไม่ให้เป็นการ
ทําลายหลักฐานที่ทับถมอยูในดินเปนเวลาหลายรอยหลายพันปจึงตองมีการบันทึกอยางละเอียด
และการวาดภาพหรือถายภาพประกอบดวย
; 3. การวิเคราะห (analysis)
หลักฐานที่ี่ไดจากการขุดคน จะตองนํามาวิเคราะหใน
หองปฏิบัติการเพื่อหาแบบอย่างของรูปร่างของ
สิ่งของที่ขุดได้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไป
; 4. การแปลความหมาย (interpretation)
และการเขียนรายงานเปนการรวบรวมหลักฐานตางๆ ที่ไดจากการสํารวจ
การขุดคน และการวิเคราะหแลวนํามาแปลความหมาย
เพื่อเขียนเป็นรายงานพิมพ์ออกเผยแผร่และจัดนิทรรศการ
สรุปเรื่องราวของมนุษย์ในยุคนั้น สมัยนั้นต่อจากนั้นก็เป็นการ
รักษาโบราณศิลปวัตถุที่ค้นพบซึ่งได้แก่ การจัดพิพิธภัณฑ์
เพื่อเป็นประโยชน์ในสำหรับการศึกษาค้นคว้าแนวทางการศึกษา
วิชาโบราณคดีโดยทั่วไป
ื่
== บทความภาษาไทย ==
* ศ.เกียรติคุณ และ ปรีชา กาญจนาคม. "โบราณคดีเบื้องต้น" (2557)
 
 
เส้น 20 ⟶ 43:
* [http://www.archae.su.ac.th คณะโบราณคดี] เว็บไซต์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
==อ้างอิง==
[[หมวดหมู่:โบราณคดี| ]]
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:โบราณคดี| โบราณคดี]]
[[หมวดหมู่:มานุษยวิทยา|บ]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}