ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jung (คุย | ส่วนร่วม)
new article .... to be continued ...
 
Jung (คุย | ส่วนร่วม)
formatting & more contents
บรรทัด 1:
'''กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์''' (ภาวะThe zeroth law of thermodynamics) กล่าวถึง[[สภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์)]]. โดยสามารถสรุปได้ดังนี้
 
''ถ้าระบบ A และ B อยู่ในภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์ และระบบ B และ C อยู่ในสภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์แล้ว ระบบ A และ C จะอยู่ในภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์ด้วยเช่นกัน''
 
กล่าวโดยสรุปก็คือภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์มี ''คุณสมบัติถ่ายทอด'' ได้นั่นเอง. อนึ่ง ที่มาของชื่อ กฎข้อศูนย์ นี้มีที่มาจากการที่[[นักวิทยาศาสตร์]]คิดว่ากฎข้อนี้เป็นรากฐานที่สำคัญต่อกฎข้อที่หนึ่ง จึงต้องการจะให้ตัวเลขชื่อกฎอยู่ต่ำกว่ากฎข้อที่หนึ่ง แต่เนื่องจากกฎข้อนี้เพิ่งจะถูกตระหนักถึงความสำคัญเมื่อหลังจากกฎข้อที่หนึ่งและสองมีชื่อเสียงมานานมากแล้ว นักวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจไม่เปลี่ยนลำดับตัวเลข และตั้งให้กฎข้อนี้เป็นกฎข้อที่ศูนย์.
นั่นคือภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์มี''คุณสมบัติถ่ายทอด''ได้นั่นเอง
 
{{โครงฟิสิกส์}}
 
[[category:อุณหพลศาสตร์]]
When two systems are put in contact with each other, there will be a net exchange of energy and/or matter between them unless they are in thermodynamic equilibrium. Two systems are in thermodynamic equilibrium with each other if they stay the same after being put in contact.
[[en:zeroth law of thermodynamics]]
 
While this is a fundamental concept of thermodynamics, the need to state it explicitly as a law was not perceived until the first third of the 20th century, long after the first three laws were already widely in use, hence the zero numbering. There is still some discussion about its [[Status of the zeroth law of thermodynamics|status]].
 
Thermodynamic equilibrium includes ''thermal equilibrium'' (associated to heat exchange and parameterized by temperature), ''mechanical equilibrium'' (associated to work exchange and parameterized generalized forces such as pressure), and ''chemical equilibrium'' (associated to matter exchange and parameterized by chemical potential).
 
{{โครงฟิสิกส์}}