ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิงกากูจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เมืองเกียวโต" → "นครเคียวโตะ" +แทนที่ "โยชิมาสะ" → "โยะชิมะซะ" +แทนที่ "โอนิน" → "โอนิง" ด้ว...
บรรทัด 5:
| img = Ginkakuji_Temple_mars_2009_053.jpg
| img_size = 300
| img_capt = ''คันนนเด็ง'' (ศาลาตำหนักเจ้าแม่กวนอิม) เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "ศาลาเงิน"
| mountain = ''โทซัง''
| denomination = [[เซน]], [[ศาสนวิชชาลัยรินไซ]]
| venerated = [[พระโคตมพุทธเจ้า|ชะกะ เนียวไร]] (พระพุทธเจ้าพระโคตมพุทธเจ้า)
| founded = พ.ศ. 2033
| closed =
บรรทัด 25:
}}
{{ระวังสับสน|วัดคิงกะกุ}}
'''วัดกิงกะกุ''' ({{ญี่ปุ่น|銀閣寺|กิงกะกุ-จิ|วัดศาลาเงิน}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''วัดจิโช''' ({{ญี่ปุ่น|慈照寺|จิโช-จิ}}) เป็นวัดพุทธในเขต[[ซะเกียว]] [[จังหวัดนครเคียวโตะ]] สร้างขึ้นโดยโชกุน[[อะชิกะงะ โยะชิมะซะ]] ในสมัย[[รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ|ยุคมุโระมะชิ]]เมื่อ พ.ศ. 2017 เพื่อเป็นอนุสรณ์แสดงอำนาจและความยิ่งใหญ่ของตระกูล โดยเลียนแบบจาก[[วัดคิงกะกุ]]ที่สร้างโดยโชกุน[[อะชิกะงะ โยะชิมิสึ]] ผู้เป็นปู่
 
ศาลา[[พระโพธิสัตว์กวนอิม|คันนน]]เป็นอาคารหลักของวัด มักเรียกกันว่า ''ศาลาเงิน (Ginkakuกิงกะกุ)'' เนื่องมาจากเมื่อครั้งแรกสร้าง โยะชิมะซะมีความตั้งใจว่าจะใช้แผ่นเงินแท้ปิดหุ้มผนังด้านนอกศาลา แต่ระหว่างนั้นได้เกิด[[สงครามโอนิ]]ขึ้น การก่อสร้างจึงหยุดชะงักลงโดยไม่มีการปิดหุ้มแผ่นเงิน ปัจจุบันวัดนี้ได้เปลี่ยนจากสัญลักษณ์ของอำนาจของโชกุน กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์และความอดกลั้น
 
เมื่อแรกเริ่มนั้น วัดกิงกะกุสร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนและปลีกวิเวกของโชกุน ในระหว่างที่โยะชิมะซะดำรงตำแหน่งโชกุน เขาได้สร้างสรรค์วัฒนธรรมใหม่ขึ้นมา ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันว่าในชื่อ ''[[Higashiyama Bunka]]'' หรือวัฒธรรมแห่งขุนเขาตะวันออก กล่าวกันว่า เมื่อสงครามโอนินทวีความรุนแรงมากขึ้น โยโยะชิมาสะมะซะได้มาหลบซ่อนตัวอยู่ที่ศาลาเงินแห่งนี้ เขาได้พักผ่อนและชื่นชมกับความสงบและความสวยงามของสวนในบริเวณศาลา ในขณะที่เมืองเกียวโตนครเคียวโตะกำลังถูกเพลิงเผาผลาญ ต่อมาใน พ.ศ. 2028 โยโยะชิมาสะมะซะได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา[[นิกายเซน]] และหลังจากเขาเสียชีวิตลง ศาลาเงินและบริเวณโดยรอบได้ถูกปรับเปลี่ยนเป็นวัดพุทธ โดยใช้ชื่อว่า วัดจิโช ซึ่งปัจจุบันเหลือเพียงศาลาเงินที่ยังคงตั้งอยู่
 
บริเวณรอบๆศาลาเงิน มีพื้นดินที่มีมอสหลากหลายชนิดขึ้นปกคลุม และมีสวนแบบญี่ปุ่น ซึ่งออกแบบโดย[[โซอามิ]]''โซะอะมิ'' ศิลปินนักจัดสวนชื่อดัง โดยเฉพาะสวนหินและทรายที่มีชื่อเสียงมาก โดยมีกองทรายที่กล่าวกันว่าเป็นสัญลักษณ์แทน[[ภูเขาไฟฟูจิ]]ตั้งอยู่ในสวน
 
วัดกิงกะกุได้รับการบันทึกขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]] โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เคียวโตะโบราณ]]
 
<gallery>