ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงสร้างของโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 84:
ความหนาแน่นเฉลี่ยของโลกคือ 5,515&nbsp;[[กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร|kg/m<sup>3</sup>]] เนื่องจากความหนาแน่นเฉลี่ยของพื้นผิวของโลกมีค่าเพียงประมาณ 3,000&nbsp;kg/m<sup>3</sup> เราจึงสรุปว่าจะต้องมีวัตถุที่มีความหนาแน่นอยู่ภายในแกนของโลก การตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแสดงให้เห็นว่าแกนโลกจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็น "ของแข็ง" จะอยู่ตรง[[แกนโลกชั้นใน]]ที่มี[[รัศมี]]ประมาณ 1,220 กิโลเมตร <ref>{{Cite journal | first1=Marc | last1=Monnereau | first2=Marie | last2=Calvet | first3=Ludovic | last3=Margerin | first4=Annie | last4=Souriau | title=Lopsided Growth of Earth's Inner Core | journal=Science | date=May 21, 2010 | volume=328 | issue=5981 | pages=1014–1017 | doi=10.1126/science.1186212 | pmid=20395477|bibcode = 2010Sci...328.1014M }}</ref> และส่วนที่เป็นของเหลว จะอยู่บริเวณ[[แกนโลกชั้นนอก]]ที่ขยายขอบเขตอาณาบริเวณเป็นรัศมีเกินกว่าประมาณ 3,400 กม มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 9,900 และ 12,200&nbsp;kg/m<sup>3</sup> ในแกนชั้นนอกและ 12,600&ndash;13,000&nbsp;kg/m<sup>3</sup> ในแกนชั้นใน <ref>{{cite book|last=Hazlett|first=James S. Monroe; Reed Wicander; Richard|title=Physical geology : exploring the earth; [the wrath of Hurricane Katrina ; Could you survive a Tsunami?; catastrophic earthquakes; global warming]|year=2006|publisher=Thomson|location=Belmont|isbn=9780495011484|page=346|edition=6.}}</ref>
 
แกนโลกชั้นในถูกค้นพบในปี 1936 โดย [[อินจ์ เลห์แมนน์]] ([[Inge Lehmann]]) และเชื่อกันว่าโดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็กและนิกเกิลเป็นบางส่วน มันไม่จำเป็นต้องเป็นของแข็ง, แต่, เพราะมันสามารถที่จะหันเห (deflect) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นแผ่นดินไหวได้, มันจึงต้องประพฤติตัวเป็นของแข็งได้ในบางสมัย หลักฐานที่ได้รับจากการทดลองได้จากในช่วงเวลาวิกฤตของแบบจำลองผลึกของแกนโลก
 
== ดูเพิ่ม ==