ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การไม่มีศาสนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Kimmuf09 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
[[ไฟล์:Religious importance.png|thumb|350px|right|การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของ[[สำนักวิจัยพิว]] ใน พ.ศ. 2545]]
 
'''อศาสนา''' ({{lang-en|irreligion}}) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่มีศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา<ref>irreligion. Dictionary.com. Dictionary.com Unabridged (v 1.1). Random House, Inc. [http://dictionary.reference.com/browse/irreligion Irreligion] (accessed: March 16, 2008).</ref> ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียก ''อศาสนิกชน''
 
โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทของอศาสนิกชนมีดังนี้
1.อศาสนิกที่เน้นอยู่ร่วมกันกับศาสนิกได้อย่างสงบสุขและมีความสุข (Harmony)
2.อศาสนิกสายกลางที่ไม่เน้นการอยู่ร่วมกันแต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ต่อต้านศาสนิกชน (Moderate)
3.อศาสนิกที่ต่อต้านศาสนิกและไม่ยอมรับศาสนาอย่างรุนแรง (Extreme)
และอศาสนิก 3 ประเภทนั้นก็ยังแบ่งย่อยๆอีกมากซึ่งยากที่จะอธิบายเพิ่มเติม
 
ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล อศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง [[อเทวนิยม]] (atheism), [[เทวนิยม]] (deism), [[อไญยนิยม]] (agnosticism), [[วิมตินิยม|ศาสนวิมตินิยม]] (religious skepticism) หรือ [[มนุษยนิยม|โลกียมนุษยนิยม]] (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับภาวะอศาสนา หรืออาจมีอคติต่ออศาสนิกชน เช่นการเหมารวมว่าอศาสนิกชนหรือคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุ[[อาชญากรรม]]หรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม