ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนศุขประยูร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Thai Highway-315.svg|150px|right]]
'''ถนนศุขประยูร''' หรือ ''' ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 สายฉะเชิงเทรา - ชลบุรี''' เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีต ขนาดเริ่มจากทางแยกคอมเพล็กซ์ 4(ทางแยกกองพลทหารราบที่ 11) [[อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา]] ช่องจราจรจากตัว[[จังหวัดชลบุรีฉะเชิงเทรา]]ถึง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเขต[[อำเภอพนัสนิคม]] แล้วลดเหลือ[[จังหวัดชลบุรี]] 2เลี้ยวขวาที่ทางแยกพนัสนิคม ช่องจราจรจนถึงปลายทางไปทางทิศตะวันตก เริ่มต้นจากเข้าสู่พื้นที่[[ถนนสุขุมวิทอำเภอพานทอง]] บริเวณสี่แยกเฉลิมไทย และ[[อำเภอเมืองชลบุรี]] ผ่าน[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7]] และ[[ทางเลี่ยงเมืองชลบุรี|ถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี]] (สิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินบริเวณนี้) และไปบรรจบ[[ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรีสุขุมวิท]]ที่ทางแยกเฉลิมไทย ช่วงจากทางแยกซ้ายที่สี่แยกคอมเพล็กซ์ถึงอำเภอพนัสนิคมมีขนาด เข้าเขต[[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]2 สิ้นสุดที่สี่แยกคอมเพล็กซ์ (สี่แยกกองพลทหารราบที่ 11) [[อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา]]ช่องจราจร ระยะทางตั้งแต่ชลบุรีถึงพนัสนิคม 2225 กิโลเมตร และช่วงจากอำเภอพนัสนิคมถึงสี่แยกคอมเพล็กซ์ปลายทางมีขนาด 254 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร รวมทั้งหมด 47 กิโลเมตร ช่วงที่เป็นทางหลวงแผ่นดินอยู่ในความดูแลของแขวงการทางชลบุรีที่ 1 ฉะเชิงเทราและแขวงการทางฉะเชิงเทราชลบุรี สำนักทางหลวงที่ 12 (ชลบุรี)
 
ถนนศุขประยูรเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายฉะเชิงเทรา พนัสนิคม-ชลบุรี"<ref name="gazette">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref> ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2493]]<ref name="gazette"/> ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่[[หลวงสัมฤทธิวิศวกรรม (โกศล ศุขประยูร)|หลวงสัมฤทธิวิศวกรรม]] (โกศล ศุขประยูร) นายช่างผู้ควบคุมการก่อสร้าง<ref name="gazette"/>