ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ชวนชม (คุย | ส่วนร่วม)
ยีน
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Gene.png|right|thumbnail|250px|ภาพแสดงยีนของโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตพวกยูคารีโอต จากภาพจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างยีนและโครโมโซม ภาพนี้แสดงยีนเพียงแค่สี่สิบคู่เบสซึ่งยีนตามจริงมีขนาดใหญ่กว่าหลายเท่า]]
'''ยีน''', '''จีน''' หรือ '''สิ่งสืบต่อพันธุกรรม''' ({{lang-en|gene}}; {{IPA|/dʒiːn/}}) คือ ส่วนหนึ่งของ[[โครโมโซม]] (Chromosome segment) ที่ถอดรหัส (encode) ได้เป็นสาย[[พอลิเพปไทด์]]หนึ่งสายที่ทำงานได้ (single functional polypeptide) หรือได้เป็นอาร์เอ็นเอ ยีน ประกอบด้วย ส่วนที่สามารถถอดรหัสเป็นอาร์เอ็นเอได้ เรียกว่า [[exon]] และ บริเวณที่ไม่สามารถถอดรหัสได้ เรียกว่า [[intron]]
 
==ยีนคือ==
 
ยีน คือ หน่วยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ที่ถ่ายทอดจากพ่อแม่ ไปสู่ลูกหลาน ที่ปรากฏอยู่บนโครโมโซม (chromosome) โดยโครโมโซม(chromosome) ประกอบด้วยดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งในดีเอ็นเอ (DNA) มียีน (gene)อยู่ โดยทำหน้าที่กำหนดลักษณะ ทางพันธุกรรมต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีจำนวนยีนแตกต่างกัน
 
ยีนอยู่บนโครโมโซมที่มีอยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นยูคาริโอต และอยู่บน (DNA) ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นโปรคาริโอต เนื่องจากยีนเป็นส่วนหนึ่งของ (DNA) ซึ่งเป็นองค์ประกอบของโครโมโซม ดังนั้นยีนขึ้นอยู่บนโครโมโซม1
 
ยีน (Gene)สามารถเป็นได้ทั้ง ดีเอ็นเอ (DNA) หรือว่า อาร์เอ็นเอ (RNA) ก็ได้ แต่ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงนั้นจะเป็นดีเอ็นเอ (DNA)หมดเพราะเสถียรมากเหมาะแก่การเก็บข้อมูล ขณะที่อาร์เอ็นเอ (RNA) จะพบในพวกไวรัส (Virus) ยีน (Gene)ทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตหรือเซลล์จะรวมอยู่ในส่วนที่เรียกว่า จีโนม (Genome) และโครงสร้างของจีโนม (Genome)ในพวกโพรคาริโอตและยูคาริโอตจะแตกต่างกัน
 
ยีนสามารถเป็นได้ทั้ง[[ดีเอ็นเอ]]หรือ[[อาร์เอ็นเอ]]ก็ได้ แต่ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงนั้นจะเป็นดีเอ็นเอทั้งหมดเพราะมีความเสถียรมากเหมาะแก่การเก็บข้อมูล ขณะที่อาร์เอ็นเอจะพบในพวกไวรัส ยีนทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตหรือเซลล์จะรวมเรียกว่า [[จีโนม]] และโครงสร้างของจีโนมในพวก[[โปรคาริโอต]]และ[[ยูคาริโอต]]จะแตกต่างกัน ถ้ายีนเกิดผิดไปจากปกติเรียกว่า [[การกลายพันธุ์]] ซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติหรือถูกกระตุ้นให้เกิดก็ได้ โดยส่วนมากแล้วเมื่อยีนเกิดผิดปกติไปจะส่งผลเสียต่อสิ่งมีชิวิตนั้นมากกว่าผลดี เช่น ในคน สามารถทำให้ป่วย เจ็บไข้ หรือถึงแก่ชีวิตได้ โรคที่เกิดจากสาเหตุนี้เรียกว่า [[โรคทางพันธุกรรม]] ซึ่งจะถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปหรือไม่ก็ได้
เส้น 7 ⟶ 15:
== อ้างอิง ==
* Nelson, D.L., Cox, M.M. Lehninger Principles of Biochemistry, fourth edition, W.H. Freeman and Company, 2005.
* http://www.phanphit.ac.th/arunya/Biology/bio011.htm
* http://www.thaibiotech.info/what-is-gene.php
 
[[หมวดหมู่:ยีน| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ยีน"