ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอวาทปาติโมกข์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:การสวดมนต์ ไปยัง หมวดหมู่:บทสวดมนต์ในศาสนาพุทธ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Buddha-image at Venuvana Rajgir, Bihar, India.jpg|200px|thumb|left|[[พระพุทธรูป]]ปางทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ ที่[[วัดเวฬุวันมหาวิหาร]]]]
 
'''โอวาทปาติโมกข์ปาฏิโมกข์''' เป็นหลักคำสอนสำคัญของ[[พระพุทธศาสนา]] เป็น "ปาติโมกข์ปาฏิโมกข์" ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียกว่า ''[[จาตุรงคสันนิบาต]]'' ซึ่งมีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ ([[อรรถกถา]]แสดงไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์ปาฏิโมกข์" นี้ ด้วยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ตลอด 20 พรรษาแรก หลังจากนั้นทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดง "อาณาปาติโมกข์" แทน) <br clear="left" />
 
== คาถาโอวาทปาติโมกข์ปาฏิโมกข์และคำแปล ==
{|class="wikitable" style="width:500px;margin:0px auto;"
! คาถาต้นฉบับ
บรรทัด 48:
|}
 
== ความหมายของโอวาทปาติโมกข์ปาฏิโมกข์ ==
 
โอวาทปาติโมกข์มักถูกกล่าวถึงในแง่หลักธรรม 3 อย่างเดียวว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามพระพุทธพจน์ 3 คาถากึ่ง อาจสรุปใจความได้เป็นสามส่วน<ref>http://www.paisarn.com/makhabucha.html วันมาฆบูชา</ref> คือ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้
บรรทัด 70:
#การไม่กล่าวร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความเชื่อผู้อื่น)
#การไม่ทำร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่ใช้กำลังบังคับข่มขู่ด้วยวิธีการต่างๆ)
#ความสำรวมในปาติโมกข์พระปาฏิโมกข์ (รักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส)
#ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร (เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง)
#ที่นั่งนอนอันสงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ)
บรรทัด 76:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[วันมาฆบูชา]] วันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ปาฏิโมกข์
 
== อ้างอิง ==