ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินจันทรคติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 19:
การนับปีทางจันทรคติ นับตามเวลาการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 29 วันครึ่งในเวลา 1 เดือน ถ้านับ 29 วัน เวลาจะขาดไป 12 ชั่วโมง แต่ถ้านับ 30 วัน เวลาจะเกินไป 12 ชั่วโมง จึงต้องนับ 59 วัน เป็น 2 เดือน โดยให้นับเดือนคี่มี 29 วัน และเดือนคู่มี 30 วัน โดยเดือนคี่เป็นเดือนต้น เดือนคู่เป็นเดือนรองถัดไป สลับจนครบ 12 เดือน แล้วเริ่มต้นใหม่
ถ้านับวันปีทางจันทรคติจะมีเพียง 354 วัน ซึ่งมีวันน้อยกว่าปีทางสุริยคติถึง 11 วันต่อปี เมื่อรวม 3 ปี จะได้ 33 วัน ดังนั้นในทุกๆ 3 ปีทางจันทรคติ จะมีเดือน 8 สองหน คือจะมี 13 เดือน เรียกปีนั้นว่า ปีอธิกมาส
 
สรุป ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 29 วัน กับอีก 12 ชั่วโมง เพราะ 1 วัน มี 24 ชั่วโมง ครึ่งวัน = 12 ชั่วโมง ซึ่ง 12 ชั่วโมง คือ คริสเตียนจักร ดังนั้น จึงต้องใช้วิธีคิดแบบคริสเตียนจักร คือ ปัญหาเกิดจากเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน หรือ 29 วัน ตามแบบคริสจักร ถ้าปีคริสศักราชที่เป็นเลขคู่ ให้ปีคริสศักราช หารด้วย 4 (สี่ฤดูกาล)แล้วลงตัว ไม่เหลือเศษ หมายถึง เดือนกุมภาพันธ์ ปีคริสศักราชนั้น มี 28 วัน คือขาดวันที่ 29 ในเดือนกุมภาพันธ์ปีคริสศักราชนั้น ซึ่งก็คือเวลาการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 1 รอบ ถ้านับ 30 วัน เวลาจะเกิน 12 ชั่วโมง ถ้าปีคริสศักราชที่เป็นเลขคี่ ให้ปีคริสศักราช หารด้วย 4 (สี่ฤดูกาล)แล้วไม่ลงตัว เหลือเศษ หมายถึง เดือนกุมภาพันธ์ ปีคริสศักราชนั้น มี 29 วัน คือเกินวันที่ 28 ในเดือนกุมภาพันธ์ปีคริสศักราชนั้น ซึ่งก็คือเวลาการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 1 รอบ ถ้านับ 29 วัน เวลาจะขาดไป 12 ชั่วโมง.
 
== ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการอ่านปฏิทินจันทรคติไทย ==