ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทพวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Komsun875 (คุย | ส่วนร่วม)
Komsun875 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 51:
== วิถีชีวิต ==
ชาวพวนมีนิสัย รักความสงบ ใจคอเยือกเย็น มีความโอบอ้อมอารี ยึดมั่นในศาสนา รักอิสระ มีความขยันขันแข็งในการการประกอบอาชีพ เมื่อว่างจากการทำไร่ทำนาก็จะทำงานหัตถกรรม คือ ผู้ชายจะสานกระบุง ตะกร้า เครื่องมือหาปลา ส่วนผู้หญิงจะทอผ้า ซึ่งรู้จักกันแพร่หลายในปัจจุบันคือ ผ้ามัดหมี่ลพบุรี
 
อาหาร ของชาวไทยพวนที่มีประจำทุกครัวเรือนคือ ปลาร้า เมื่อมีงานบุญมักนิยมทำขนมจีน และข้าวหลาม ส่วนอาหารอื่น ๆ จะเป็นอาหารง่าย ๆ ที่ประกอบจากพืชผัก ปลา ที่มีในท้องถิ่น เช่น ปลาส้ม ปลาส้มฟัก เป็นต้น ในด้านความเชื่อนั้น ชาวพวนมีความเชื่อเรื่องผี จะมีศาลประจำหมู่บ้านเรียกว่า ศาลตาปู่ หรือศาลเจ้าปู่บ้าน รวมทั้งการละเล่นในเทศกาลก็จะมีการเล่นผีนางด้ง ผีนางกวัก ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวพวนคือ ประเพณีใส่กระจาด ประเพณีกำฟ้า ซึ่งเป็นประเพณีที่แสดงถึงการสักการะฟ้า เพื่อให้ผีฟ้า หรือเทวดาพอใจ เพื่อไม่ให้เกิดภัยพิบัติ
 
วัฒนธรรมด้านภาษา ชาวพวนจะมีภาษาเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ภาษาของไทยพวน ใช้ภาษาไทยแท้เสียงวรรณยุกต์ใกล้เคียงกับภาษาภาคกลางมากกว่า เสียงของชาวภาคอีสานส่วนมากเช่น แม่ก็ออกเสียงว่า แม่ ตรงกับภาษาภาคกลางไม่ใช่แหม่ น้ำก็ออกเสียงว่า น้ำ ไม่ใช่ น่าม เมื่อเทียบเคียงกับภาษาไทยสาขาอื่น เห็นว่าใกล้เคียงกับภาษาผู้ไทย หรือ ไทยภู และภาษาย้อ คือ ออกเสียงสระไอไม้ม้วนเป็นเสียงสระเออ เช่น ใต้ ออกเสียงเป็น เต้อ ให้ ออกเสียงเป็น เห้อ เป็นต้น ขนบธรรมเนียมประเพณีก็คล้ายคลึงกัน นับถือพระพุทธศาสนามั่นคงเช่นเดียวกัน แต่ปัจจุบันภาษาเขียนจะไม่มีคนเขียนได้ ยังคงเหลือเพียงภาษาพูด ซึ่งมีสำเนียงคล้ายเสียงภาษาถิ่นเหนือ อักษร "ร " ในภาษาไทยกลาง จะเป็น "ฮ" ในภาษาพวน เช่น รัก - ฮัก หัวใจ - หัวเจอ ใคร - เผอ ไปไหน - ไปกะเลอ
 
ปัจจุบันชาวพวนในแต่ละจังหวัดยังคงสภาพความเป็นสังคมเกษตรกรรม ยังมีความผูกพันกัน แน่นแฟ้นในหมู่ชาวพวน และมีความสัมพันธ์อันดีกับชาวไทยกลุ่มอื่น ทั้งยังคงพยายามรักษาประเพณี วัฒนธรรมของเผ่าพันธ์อย่างดีแต่เพราะความเจริญก้าวหน้าทางวัตถุ และสภาพสังคม เศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนไป ทำให้วิถีชีวิตของชาวพวนเปลี่ยนไปจากเดิมบ้าง เช่น ภาษาพูด คนหนุ่มสาวจะนิยมพูดภาษาไทยกลาง แม้จะอยู่ในหมู่เดียวกัน หรือประเพณีพื้นบ้านบางอย่างก็มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจ เช่น แต่เดิมประเพณีใส่กระจาด ประเพณีเทศน์มหาชาติ จะจัดทำทุกปี และมีการทำอาหารเลี้ยงดู และใส่กระจาดกันทุกบ้าน
 
เส้น 143 ⟶ 140:
สูบ ตรงนี้จะเป็น ผี คนเขานับถือ เขาเรียกกันว่า “ ผีตาเหล็ก” ตอนนี้ไม่ค่อยมีแล้วเขาจะสร้างเป็นศาลเพียงตาไว้ เดือนหก ขึ้นหกค่ำเหนือ เดือนสี่ใต้จะทำพิธีเลี้ยงผีตาเหล็กเป็นเหล้าไหไก่คู่ ประกอบด้วย เหล้าขาว 1 ไห และไก่ 2 ตัว คนจะกราบไว้จะบนไว้ขอให้บ้านเราอยู่แบบสุขสบาย
 
การตีเหล็ก มีอุปกรณ์ ดังนี้ เตา สูบ คีม ทั่ง ตะไบ ผ้ากาด คือ เหล็กสำหรับทำให้เหล็กเรียบ คล้าย ๆ กบไสไม้
เตา
สูบ
คีม
ทั่ง
ตะไบ
ผ้ากาด คือ เหล็กสำหรับทำให้เหล็กเรียบ คล้าย ๆ กบไสไม้
 
ประกอบด้วย คน 4 คน ในการทำ
เส้น 156 ⟶ 147:
คีบ จำนวน 1 คน
รวมคนที่ทำ จำนวน 5 คน
 
วิธีการทำ
วิธีการทำ เอาเหล็กเผาไฟให้แดงก่อน เอามาตีให้เป็นรูปเป็นร่าง ต้องทำ จำนวน 3 แดง จึงจะได้เป็นรูปเป็นร่าง แล้วเอาผ้ากาดมากาด เอาตะไบมาแต่ง เอาไปเผาไฟอีกทีหนึ่งแล้วเอาชุบน้ำ เป็นอันเสร็จแล้วเอามาเข้าด้าม
เอาเหล็กเผาไฟให้แดงก่อน
เอามาตีให้เป็นรูปเป็นร่าง
ต้องทำ จำนวน 3 แดง จึงจะได้เป็นรูปเป็นร่าง
แล้วเอาผ้ากาดมากาด
เอาตะไบมาแต่ง
เอาไปเผาไฟอีกทีหนึ่งแล้วเอาชุบน้ำ เป็นอันเสร็จแล้ว
แล้วเอามาเข้าด้าม
 
อาชีพทำผ้าหม้อห้อม
เส้น 213 ⟶ 198:
 
ขั้นตอนการทำผ้าหม้อห้อมแบบดั้งเดิม
1.ตัดเย็บผ้าทอหรือผ้าดิบให้เป็นเสื้อตามขนาดที่ต้องการ
2.น้ำผ้าดิบที่ได้ไปแช่น้ำธรรดา 1 – 2 คืน แล้วนำขึ้นมาผึ่งให้หมาด
3.เตรียมผ้าที่ผึ่งให้หมาด โดยตระกร้าตาห่าง แช่ในโอ่งที่มีน้ำห้อม พอท่วมแล้วสวมถุงมือขย้ำ (จก) ให้สีย้อมติดทั่วทั้งตัวเสื้อ
4.นำผ้าที่ย้อมแล้วไปผึ่งให้แห้ง แล้วย้อมซ้ำอีก 5 ครั้ง เพื่อให้สีห้อมติดทั่วทั้งผืนและทนทานแล้วจึงนำไปผึ่งจนแห้ง
5. หลังจากย้อมครั้งสุดท้ายแล้ว นำมาซักแห้งลงแป้งและรีดให้เรียบร้อย
6. นำผ้าหม้อห้อมสำเร็จรูปที่ได้มาแขวนไว้ เพื่อรอการเก็บบรรจุภัณณ์
 
ประเพณีของชาวไทยพวน
ชาวพวนนอกจากจะนับถือและยึดมั่นในศาสนาพุทธแล้ว ชาวพวนยังมีขนบธรรมเนียมและประเพณีเป้นเอกลักษณ์ของตนมาแต่โบราณ ชาวพวกนั้นเคร่งครัดต่อขนบธรรมเนียมและประเพรีของตนมากซึ่งได้ถือปฏิบัติมาตามแบบอย่าง บรรพบุรุษ
ในรอบปีหนึ่งประเพรีของชาวพวนยังยึดถือและปฏิบัติกันมีดังนี้คือ
 
เดือนอ้ายบุญข้าวจี่ เดือนยี่บุญข้าวหลาม