ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเมียะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chayawatpp (คุย | ส่วนร่วม)
Chayawatpp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
''บทความนี้เกี่ยวข้องกับสตรีพม่า สำหรับเพลงและละครโทรทัศน์ โปรดดู [[มะเมียะ (เพลง)]] และ [[มะเมียะ (ละครโทรทัศน์)]]''
[[ไฟล์:มะเมี้ยะ.jpg|thumb|ภาพวาดของนางสาวมะเมียะ]]
'''นางสาวมะเมียะ''' ([[พ.ศ. 2430]]-[[พ.ศ. 2505]]) เป็นสาวแม่ค้าชาวพม่าที่มีบทบาทสำคัญคนหนึ่งอยู่ในเรื่องเล่าของประวัติศาสตร์[[นครเชียงใหม่]] นครประเทศราชซึ่งในขณะนั้นเชียงใหม่ยังคงเป็นส่วนหนึ่งในมลฑลพายัพของสยาม โดยเป็นมะเมียะปรากฎตัวอยู่ในหนังสือ "เพชรลานนาเล่ม ๑-๒” และหนังสือ "ชีวิตรักเจ้าเชียงใหม่" ของนาย'''ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง''' ที่กล่าวถึง มะเมียะหญิงสาวที่มีความรักมั่นกับเจ้าอุตรการโกศลแห่งนครเชียงใหม่ เมื่อครั้งที่[[เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)]] เดินทางไปศึกษาเล่าเรียนที่เมือง[[มะละแหม่ง]] [[ประเทศพม่า]] แต่ความรักต้องจบลงด้วยความโศกสลด อันเป็นที่มาของตำนานความรักที่เล่าขานมาจนถึงปัจจุบัน<ref>http://www.chiangraifocus.com/knowledge.php?id=35</ref>
 
== ความรักของมะเมียะ ==
เส้น 45 ⟶ 46:
 
5. รายการทางช่องยูทูป Hot Asia<ref>https://www.youtube.com/watch?v=i6nFQ9ym-0g</ref> ได้เดินทางไปตามหาเรื่องราวของมะเมียะและไปสัมภาษณ์แม่ชีที่เป็นลูกศิษย์ผู้หญิงที่เชื่อกันว่าคือ มะเมียะจนได้พบรูปถ่ายที่เชื่อว่าเป็นภาพของมะเมียะตอนอายุ 20 ปีซึ่ง ผู้หญิงในรูปมีประวัติว่าเคยมีสามีเป็นคนไทยและก่อนมาบวชเคยมีลูกและนำทารกไปให้ผู้อื่นเลี้ยงและทารกได้เสียชีวิตเพียงอายุ 9 เดือน ภาพถ่ายมีข้อพิรุดความคลาดเคลื่อนที่เชื่อกันว่ามะเมียะเกิดในปี พ.ศ. 2430 แต่ภาพถ่ายนี้ทำให้พบว่ามะเมียะในภาพควรเกิดปี พ.ศ. 2445 แต่เจ้าน้อยฯเดินทางไปเรียนพม่าเมื่อ ปี พ.ศ. 2445 ที่ไม่ตรงกับคำบอกเล่าจากปีเกิดของมะเมียะและมะเมียและเจ้าน้อยจึงไม่มีความเป็นไปได้ที่จะพบกัน
 
== มะเมียะในสื่อต่างๆ ==
* 1. หนังสือเพ็ชรลานนาเล่ม ๑ (2507) <br />
* 2. หนังสือเพ็ชรลานนาเล่ม ๒ (2538)<br />
* 3. หนังสือชีวิตรักเจ้าเชียงใหม่ (2523)<br />
* 4. เพลง "มะเมี๊ยะ แต่ง/ขับร้องโดย จรัล มโนเพชร และ สุนทรี เวชานนท์ (2520)<br />
* 5. ละคร "มะเมี๊ยะ" ออกอากาศทางช่อง 7 (2537)
 
 
== อ้างอิง ==