ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peem6 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Char (คุย | ส่วนร่วม)
ส่วนต้นใหม่ และ เพิ่มส่วนงาน
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{เก็บกวาดสถานศึกษา}}
[[ไฟล์:Mathematicians_bridge_cambridge_large.jpg|thumb|right|สะพานคณิตศาสตร์ (Mathematical Bridge) เหนือซึ่งเป็นสะพานข้ามแม่น้ำแคม ที่มหา
วิทยาลัยเคมบริดจ์]]
'''มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์''' ({{lang-en|University of Cambridge}})<ref group="note">ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge)</ref> เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของ[[สหราชอาณาจักร]] ก่อตั้งเมื่อปี [[.ศ. 12091752]] เป็นโดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]]ที่ นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับสองที่สี่ของ[[สหราชอาณาจักร]] ตั้งโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่ใน[[เคมบริดจ์อีกด้วย<ref>{{cite (เคมบริดจ์เชียร์)book|author=Sager, Peter|year= 2005|title= Oxford and Cambridge: An Uncommon History}}</ref> มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองเคมบริดจ์]]อ๊อกซฟอร์ด<ref>{{cite [[แคว้นอังกฤษweb|อังกฤษ]]url=http://www.cam.ac.uk/univ/history/records.html|title=A Brief History: Early records|publisher=University of Cambridge|accessdate=17 August 2008}}</ref> มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับอยู่ในอันดับต้นๆต้น ๆ ของโลกโดยสำนักการจัดอันดับมหาวิทยาลัยต่างๆโดยสำนักต่าง และมักถูกๆ จนมีการเรียกรวมกับ กันว่า [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดอ๊อกซบริดจ์]] ว่า "อ๊อกซ์บริดจ์" มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็น[[รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ|มหาวิทยาลัยลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด]] ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล
 
นักศึกษาและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละคณะอาศัย (College)<ref group="note">หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา</ref> จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา 6 คณะ โดยคณะอาศัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน<ref>{{cite web|url=http://www.cam.ac.uk/colleges-and-departments|title= Cambridge – Colleges and departments| accessdate=27 November 2013|publisher= University of Cambridge}}</ref> ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นใน[[มหาวิทยาลัยเคนต์]] และ[[มหาวิทยาลัยเดอแรม]] อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย<ref>{{cite web|url=http://www.guinnessworldrecords.com/world-records/2000/oldest-printing-and-publishing-house |title=Oldest printing and publishing house |publisher=Guinnessworldrecords.com |date=22 January 2002 |accessdate=28 March 2012}}</ref><ref>{{cite book | title = Cambridge University Press, 1583–1984 | first= Michael | last = Black | pages= 328–9 | year = 1984 | isbn = 978-0-521-66497-4}}</ref> นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้วย
 
== ประวัติ ==
เส้น 10 ⟶ 12:
ต่อมา เคมบริดจ์ได้ขยายตัวและรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นจึงมีการจัดตั้งคอลเลจเพิ่มขึ้น จนปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประกอบด้วย 31 คอลเลจ ระบบคอลเลจนี้มีลักษณะคล้ายบ้านของนักเรียนในหนังสือ [[แฮรี่ พอตเตอร์]] คือ พอเข้าอาศัยที่ไหนแล้วก็ไม่เปลี่ยนและเป็นสมาชิกตลอดชีพ (ยกเว้นตอนเปลี่ยนระดับการศึกษา อาจขอเปลี่ยนได้) แม้นักเรียนจากแต่ละคอลเลจจะไปเรียนร่วมกันในคณะ/สาขาต่างๆ แต่จะมีระบบติว (supervision) แยกจากกันซึ่งจัดการโดยคอลเลจ นักเรียนแต่ละคอลเลจจะแข่งขันกัน ทั้งด้านการเรียน และกิจกรรม, ทุกคอลเลจจะมีประเพณีของตัวเอง มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ของตัวเอง มีสีและสัญลักษณ์ของตัวเอง และ มีทรัพย์สินอาคารบ้านเรือนของตัวเอง (เช่น สระว่ายน้ำ สนามสควอช ที่ให้เช่าริมฝั่งแม่น้ำ Thame หอศิลป์ โบสถ์ อาคารธุรกิจ หุ้นในประเทศต่าง ๆ ฯลฯ) ดังนั้น คอลเลจของเคมบริดจ์หลาย ๆ แห่ง จึงมีฐานะร่ำรวย และชอบที่จะแข่งขันกันว่าใครจะให้ความสะดวกแก่เด็กตัวเองได้มากกว่ากัน หรือจ้างอาจารย์หรือ Fellow ที่มีชื่อเสียงมาเป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการให้คอลเลจของตน อาจารย์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ส่วนใหญ่ก็จะมีคอลเลจสังกัด แต่เวลาสอน ก็สอนเด็กทุกวิทยาลัย ฐานะทางการเงินของคอลเลจนี้จะตรงข้ามกับตัวมหาวิทยาลัย ที่ยังต้องพึ่งพิงรายได้จากรัฐ และค่าเล่าเรียนจากนักเรียน
 
== ส่วนงาน ==
== เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==
=== ส่วนงานทางวิชาการ ===
[[ไฟล์:Cam_colls_from_johns.jpg|thumb|right|250px|ภาพ King's College Chapel ใจกลางเมืองเคมบริดจ์]]
มหาวิทยาลัยแบ่งส่วนงานทางวิชาการออกเป็นทั้งสิ้น 6 คณะ (school) แต่ละคณะมีมีภาควิชา (faculty) และแขนงวิชา (department หรือ division) ทั้งหมดนี้ให้บริการในด้านการเรียนการสอนและวิจัย คณะวิชาของมหาวิทยาลัยมีดังนี้<ref group="note">ถ้าจะจัดแบบให้ faculty เป็น คณะ และ department เป็น ภาควิชา จะได้การจัดที่ไม่เหมาะสม มีจำนวนคณะมาก และไม่สมดุลกัน จึงได้ให้ school เป็นคณะ ส่วน faculty และ department เป็นภาควิชาและสาขาวิชาตามลำดับลงไป</ref><ref name="camb_dir">{{cite web|url=http://map.cam.ac.uk/directory/|title=University of Cambridge: Colleges and departments|accessdate=15 February 2015}}</ref>
 
==== คณะศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์====
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นหนึ่งในหลายๆ สถาบันการศึกษาในโลกที่ได้รับการจับตามอง ระหว่างที่ประเทศโลกเสรีพยายามพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อป้องกันประเทศ เมื่อเกิดภัยคุกคามจาก[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] ซึ่งมี [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เป็นผู้นำ ระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยหลายแห่ง มีการเคลื่อนไหวทางวิชาการอย่างคึกคัก เพราะรัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณการวิจัยเป็นจำนวนมหาศาล อาทิเช่น [[มหาวิทยาลัยปารีส]]
* ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และ[[ประวัติศาสตร์ศิลปะ]]
[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] [[มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท]] [[มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]] [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] [[มหาวิทยาลัยเยล]]
** สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
[[สถาบันเอ็มไอที]] ฯลฯ มหาวิทยาลัยเหล่านี้จึงแข่งขันกันอยู่ในที บางทีก็มีการดึงเอาคณาจารย์จากกันไปโดยเพิ่มเงินเดือนให้สูงกว่าก็มี
** สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
* ภาควิชาเอเชียและตะวันออกกลางศึกษา
** สาขาวิชาาเอเชียตะวันออกศึกษา
** สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา
* ภาควิชาโบราณวิทยา (classics)
** พิพิธภัณฑ์โบราณคดีคลาสสิก
* ภาควิชาเทววิทยา (divinity)
* ภาควิชาภาษาอังกฤษ
** สาขาวิชา[[แองโกล-แซกซัน]] นอร์ส และเซลติก
* ภาควิชาภาษาสมัยใหม่และภาษายุคกลาง
** สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
** สาขาวิชาภาษาเยอรมันและดัตช์
** สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน
** สาขาวิชาสลาฟศึกษา (Slavonic studies)
** สาขาวิชาภาษาสเปนและโปรตุเกส
** สาขาวิชาภาษากรีกสมัยใหม่
** สาขาวิชาภาษาลาตินใหม่ (Neo-Latin)
* ภาควิชาดุริยศาสตร์
* ภาควิชาปรัชญา
* ศูนย์วิจัยศิลปศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
* ศูนย์ภาษา
 
==== คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ====
เมื่อเทียบกับหลายมหาวิทยาลัยในโลก เคมบริดจ์ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์อยู่มาก เพราะรากฐานทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนี้เข้มแข็งมาช้านาน ดังนั้น ตั้งแต่อดีตจวบจนยุคปัจจุบัน นอกจากจะได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นเยี่ยมในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอังกฤษแล้ว ยังเป็นมหาวิทยาลัยลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุดในโลก กล่าวคือมีถึง 81 รางวัล
* ภาควิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และรัฐศาสตร์
เพราะความมีชื่อเสียงในด้านการวิจัยนี้เอง ในระยะหลัง เคมบริดจ์ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนด้านเงินทุนจากหลายหน่วยงาน เช่น [[EPSRC]] และ [[Gates Foundation]] ทำให้เคมบริดจ์มีสถานะการเงินที่ดีกว่ามหาวิทยาลัยในอังกฤษอื่นๆ หลายแห่ง
** สาขาวิชา[[โบราณคดี]]และ[[มานุษยวิทยา]]
*** สาขาวิชาโบราณคดี
*** สาขาวิชามานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ
*** ศูนย์ศึกษาวิวัฒนาการมนุษย์ลีเวอร์ฮูล์ม (Leverhulme Centre for Human Evolutionary Studies)
*** สาขาวิชามานุษยวิชาเชิงสังคม
*** หน่วยศึกษามองโกเลียและเอเชียตอนใน
*** พิพิธภัณฑ์โบราณคดีและมานุษยวิทยา
*** สถาบันวิจัยโบราณคดีแมกโดนัลด์ (McDonald Institute for Archaeological Research)
** สาขาวิชารัฐศาสตร์และนานาชาติศึกษา
*** ศูนย์เพศศึกษา
*** ศูนย์แอฟริกันศึกษา
***ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
*** ศูนย์ลาตินอเมริกันศึกษา
*** ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา
** สาขาวิชาสังคมวิทยา
* ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
* ภาควิชาครุศาสตร์
* ภาควิชาประวัติศาสตร์
* สาขาวิชาประวัติและปรัชญาวิทยาศาสตร์
** พิพิธภัณฑ์ประวัติวิทยาศาสตร์วิพเพิล (Whipple Museum of the History of Science)
* ภาควิชานิติศาสตร์
** ศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศเลาเทอร์พัคท์ (Lauterpacht Centre for International Law)
* สถาบัน[[อาชญาวิทยา]]
* สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ดิน
 
=== คณะวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (School of Biological Sciences) ===
ที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่จัดตั้งสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย แต่บังเอิญว่างานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ซึ่งสมัยก่อนนั้น ยังไม่มีการนำไปใช้เชิงพาณิชย์เท่าใดนัก จึงขยายตัวสู้สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดซึ่งเกิดทีหลัง แต่มีปริมาณงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มากกว่าไม่ได้ แต่ระยะหลัง สำนักพิมพ์ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก็เริ่มพัฒนาขึ้นอย่างมาก เห็นได้จากปริมาณงานทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ซึ่งมีเพิ่มขึ้น
* ภาควิชาชีววิทยา
** สาขาวิชาชีวเคมี
** ศูนย์วิจัยครอบครัว
** สาขาวิชาพันธุศาสตร์
** สาขาวิชา[[พยาธิวิทยา]]
** สาขาวิชา[[เภสัชวิทยา]]
** สาขาวิชา[[สรีรวิทยา]] การพัฒนา และ[[ประสาทศาสตร์]]
** สาขาวิชาพืชศาสตร์
*** สวนพฤกษศาสตร์
** สาขาวิชาจิตวิทยา
*** ศูนย์เจตมิติ (psychometrics)
** สาขาวิชาสัตววิทยา
* ภาควิชาสัตวแพทยศาสตร์
** สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์
* ศูนย์วิจัย[[เซลล์ต้นกำเนิด]]เวลคัมทรัสต์
* สถาบันเกอร์ดอนว่าด้วยการวิจัยมะเร็ง
* ศูนย์ชีววิทยาระบบเคมบริดจ์
* ห้องปฏิบัติการเซนสบรี (Sainsbury Laboratory)
 
=== คณะวิทยาศาสตร์กายภาพ ===
ในปี [[พ.ศ. 2548]] (ค.ศ. 2005) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยแบ่งเป็น: อันดับ 1 ของยุโรปในคะแนนรวม, เป็นอันดับ 1 ของโลกด้านวิทยาศาสตร์, เป็นอันดับ 6 ของโลกทางด้านเทคโนโลยี, อันดับ 2 ของโลกทางด้าน[[ชีวเวช]], อันดับ 8 ของโลกด้านสังคมศาสตร์ และ อันดับ 3
* ภาควิชาโลกศาสตร์และภูมิศาสตร์
ของโลกด้านศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์
** สาขาวิชาโลกศาสตร์
*** พิพิธภัณฑ์โลกศาสตร์เซดจ์วิก (Sedgwick Museum of Earth Sciences)
** สาขาวิชาภูมิศาสตร์
*** ศูนย์วิจัยขั้วโลกสกอตต์
*** พิพิธภัณฑ์ขั้วโลก
* ภาควิชาคณิตศาสตร์
** สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์และฟิสิกส์ทฤษฎี
** สาขาวิชาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และสถิติเชิงคณิตศาสตร์
*** ห้องปฏิบัติการสถิติ
* ภาควิชาฟิสิกส์และเคมี
** สาขาวิชาดาราศาสตร์
** สาขาวิชาเคมี
** สาขาวิชาวัสดุศาสตร์และโลหวิทยา
** สาขาวิชาฟิสิกส์
* สถาบันคณิตศาสตร์[[ไอแซก นิวตัน]]
 
=== คณะแพทยศาสตร์ ===
ในปี [[พ.ศ. 2549]] (ค.ศ. 2006) และปี [[พ.ศ. 2550]] (ค.ศ. 2007) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้อันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ให้มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 2 ของโลกสองปีซ้อนรองจาก [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
* ภาควิชาชีวเคมีคลินิก
** ห้องปฏิบัติการวิจัยเมทาบอลิก
* ภาควิชาประสาทศาสตร์คลินิก
** ศูนย์เคมบริดจ์ว่าด้วยการซ่อมแซมสมอง
** หน่วยวิจัยประสาทวิทยา
** สาขาวิชาการผ่าตัดประสาท
** ศูนย์วิจัยการถ่ายภาพสมองวูล์ฟสัน (Wolfson Brain Imaging Centre)
* ภาควิชา[[โลหิตวิทยา]]
** สาขาวิชาเวชศาสตร์การถ่ายเลือด
* ภาควิชาพันธุเวชศาสตร์
* ภาควิชาแพทยศาสตร์
** สาขาวิชา[[วิสัญญีวิทยา]]
** สาขาวิชาเภสัชวิทยาคลินิก
** สาขาวิชาวักกเวชศาสตร์ (renal medicine)
* ภาควิชา[[สูติศาสตร์]]และ[[นรีเวชวิทยา]]
* ภาควิชา[[วิทยาเนื้องอก]]
* ภาควิชา[[จิตเวชศาสตร์]]
** หน่วยวิจัยด้านผังสมอง
** สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์เด็ก
* ภาควิชาสาธารณสุขและการดูแลปฐมภูมิ
** หน่วยวิจัยการดูแลปฐมภูมิ
** สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้ชรา (gerontology)
* ภาควิชา[[รังสีวิทยา]]
* ภาควิชา[[ศัลยกรรม]]
** สาขาวิชาศัลยกรรมในผู้ป่วยรุนแรงและ[[ออร์โทพีดิกส์]]
* สถาบันวิจัยแพทยศาสตร์เคมบริดจ์
=== คณะเทคโนโลยี ===
* ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์
** สาขาวิชาพลังงาน [[กลศาสตร์ของไหล]] และเครื่องกลเทอร์โบ
** สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
** สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วัสดุ และการออกแบบ
** สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
** สาขาวิชาการผลิตและจัดการ
** สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ
* ภาควิชาบริหารธุรกิจและการจัดการ (หรือ วิทยาลัยธุรกิจเคมบริดจ์จัดจ์ (Cambridge Judge Business School))
** ศูนย์วิจัยธุรกิจ
* ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
** ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
* ภาควิชาวิศวกรรมเคมีและชีวเทคโนโลยี
* สถาบันภาวะผู้นำอย่างยั่งยืน
 
=== ศูนย์ไม่สังกัดคณะ ===
* ศูนย์วิจัยเชิงประยุกต์ว่าด้วยเทคโนโลยีการศึกษา
* ศูนย์อิสลามศึกษา
* สถาบันการศึกษาต่อเนื่อง
* หน่วยบริการสนเทศมหาวิทยาลัย
* หอสมุด
 
=== คณะอาศัย ===
== วิทยาลัยในสังกัดมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==
{{โครงส่วน}}
มหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็น 31 คณะอาศัย (คอลเลจ) แต่ละคณะอาศัยมีหน้าที่จัดหาที่พักให้นักศึกษาทุกระดับ<ref>{{Cite web | url = http://www.cam.ac.uk/admissions/undergraduate/colleges/role.html | archiveurl=http://web.archive.org/web/20071023055509/http://www.cam.ac.uk/admissions/undergraduate/colleges/role.html | archivedate = 2007-10-23 | title = Role of the Colleges | accessdate = 2008-03-27 | publisher = [[University of Cambridge]]}}</ref> รวมทั้งจัดการเรียนการสอนกับรับนักศึกษาปริญญาตรีด้วย รายนามคณะอาศัยในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีดังนี้
(ตัวเลขข้างท้าย คือปี ค.ศ. ที่ก่อตั้ง)
<div style="-moz-column-count:2; column-count:2;">
เส้น 65 ⟶ 195:
ในจำนวนวิทยาลัยทั้งหมดนี้ มี 3 วิทยาลัยที่รับเฉพาะนักศึกษาหญิงเท่านั้น (นิวแน่ม คอลเลจ, ลูซี่ คาเวนดิช คอลเลจ, และ นิว ฮอลล์)
และ 4 วิทยาลัยที่รับเฉพาะนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (แคลร์ ฮอลล์, ดาร์วิน คอลเลจ, วูลฟ์สัน คอลเลจ, และ เซนท์ เอดมันด์ส คอลเลจ)
 
 
== เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==
[[ไฟล์:Cam_colls_from_johns.jpg|thumb|right|250px|ภาพ King's College Chapel ใจกลางเมืองเคมบริดจ์]]
 
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นหนึ่งในหลายๆ สถาบันการศึกษาในโลกที่ได้รับการจับตามอง ระหว่างที่ประเทศโลกเสรีพยายามพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อป้องกันประเทศ เมื่อเกิดภัยคุกคามจาก[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] ซึ่งมี [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เป็นผู้นำ ระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยหลายแห่ง มีการเคลื่อนไหวทางวิชาการอย่างคึกคัก เพราะรัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณการวิจัยเป็นจำนวนมหาศาล อาทิเช่น [[มหาวิทยาลัยปารีส]]
[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] [[มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท]] [[มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]] [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] [[มหาวิทยาลัยเยล]]
[[สถาบันเอ็มไอที]] ฯลฯ มหาวิทยาลัยเหล่านี้จึงแข่งขันกันอยู่ในที บางทีก็มีการดึงเอาคณาจารย์จากกันไปโดยเพิ่มเงินเดือนให้สูงกว่าก็มี
 
เมื่อเทียบกับหลายมหาวิทยาลัยในโลก เคมบริดจ์ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์อยู่มาก เพราะรากฐานทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนี้เข้มแข็งมาช้านาน ดังนั้น ตั้งแต่อดีตจวบจนยุคปัจจุบัน นอกจากจะได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นเยี่ยมในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอังกฤษแล้ว ยังเป็นมหาวิทยาลัยลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุดในโลก กล่าวคือมีถึง 81 รางวัล
เพราะความมีชื่อเสียงในด้านการวิจัยนี้เอง ในระยะหลัง เคมบริดจ์ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนด้านเงินทุนจากหลายหน่วยงาน เช่น [[EPSRC]] และ [[Gates Foundation]] ทำให้เคมบริดจ์มีสถานะการเงินที่ดีกว่ามหาวิทยาลัยในอังกฤษอื่นๆ หลายแห่ง
 
ที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่จัดตั้งสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย แต่บังเอิญว่างานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ซึ่งสมัยก่อนนั้น ยังไม่มีการนำไปใช้เชิงพาณิชย์เท่าใดนัก จึงขยายตัวสู้สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดซึ่งเกิดทีหลัง แต่มีปริมาณงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มากกว่าไม่ได้ แต่ระยะหลัง สำนักพิมพ์ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก็เริ่มพัฒนาขึ้นอย่างมาก เห็นได้จากปริมาณงานทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ซึ่งมีเพิ่มขึ้น
 
ในปี [[พ.ศ. 2548]] (ค.ศ. 2005) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยแบ่งเป็น: อันดับ 1 ของยุโรปในคะแนนรวม, เป็นอันดับ 1 ของโลกด้านวิทยาศาสตร์, เป็นอันดับ 6 ของโลกทางด้านเทคโนโลยี, อันดับ 2 ของโลกทางด้าน[[ชีวเวช]], อันดับ 8 ของโลกด้านสังคมศาสตร์ และ อันดับ 3
ของโลกด้านศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์
 
ในปี [[พ.ศ. 2549]] (ค.ศ. 2006) และปี [[พ.ศ. 2550]] (ค.ศ. 2007) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้อันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ให้มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 2 ของโลกสองปีซ้อนรองจาก [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
 
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==
เส้น 161 ⟶ 309:
</div>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]]
=== รายชื่อมหาวิทยาลัยที่ใช้ระบบคณะอาศัย ===
* [[มหาวิทยาลัยเคนต์]]
* [[มหาวิทยาลัยยอร์ก]]
* [[มหาวิทยาลัยเดอแรม]]
* [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]]
== หมายเหตุ ==
<references group="note"/>
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.cam.ac.uk University of Cambridge]