ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จริยธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5793028 สร้างโดย Chaichawat (พูดคุย)
ย้อนการแก้ไขที่ 5793029 สร้างโดย Octahedron80 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
'''จริยธรรม''' หรือ '''จริยศาสตร์''' เป็นหนึ่งในวิชาหลักของ วิชา[[ปรัชญา]] ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ[[ความดีงาม]]ทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหน[[ถูก]]และสิ่งไหน[[ผิด]] หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ ''จริย'' กับ''ธรรม'' ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า [[ความประพฤติ]] กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า [[ความดี|คุณความดี]] [[คำสั่งสอนในศาสนา]] [[หลักปฏิบัติในทางศาสนา]] [[ความจริง]] [[ความยุติธรรม]] [[ความถูกต้อง]] [[กฎเกณฑ์]] เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ <ref>ไสว มาลาทอง ป.ธ. 5 น.ธ .เอก ศน.บ. M.A. คู่มือ การศึกษาจริยธรรม กรมการศาสนา พ.ศ. 2542 หน้า 6</ref>
 
ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม <ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 หน้า 291</ref>