ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sacred l008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
ในวัยเด็กมักค้นคว้าหาความรู้ด้านธรรมะ และคำถามที่ติดอยู่ในใจเสมอคือ "เราเกิดมาทำไม และอะไรคือเป้าหมายชีวิต" จึงได้แสวงหาคำตอบเรื่อยมา ขณะที่เรียนอยู่ที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]หลังจากได้ฟังการบรรยายธรรมจากวิทยากรท่านต่างๆ ได้ร่วมกับเพื่อนๆ ตั้งชุมนุมยุวพุทธขึ้น
 
[[พ.ศ. 2506]] เมื่อขณะศึกษาอยู่ชั้น ม. 8 (เที่ยบเท่า ม. 6 ในปัจจุบัน) กำลังเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย ได้อ่านพบหนังสือชื่อ "วิปัสสนาบันเทิงสาร" ลงเรื่องราวเกี่ยวกับแม่ชี[[จันทร์ ขนนกยูง]]ซึ่งได้ศึกษาวิชชาธรรมกายมาจาก [[พระมงคลเทพมุนี]] (สด จนฺทสโร) จาก วัดปากน้ำภาษีเจริญ จึงได้ศึกษาไปขอเรียนการปฏิบัติธรรมกับจาก'''แม่ชีจันทร์'''
เมื่อเรียนจบ[[ปริญญาตรี]]สาขาวิชา[[เศรษฐศาสตร์]][[เกษตร]] จาก[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]แล้ว ได้[[บรรพชา]]อุปสมบท เมื่อวันที่ [[27 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2512]] ณ พัทธสีมา[[วัดปากน้ำภาษีเจริญ]] โดยมีพระเทพวรเวที (ปัจจุบันคือ[[สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์]] เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ [[เขตภาษีเจริญ]]) เป็นพระอุปัชฌาย์ <ref>[http://www.dhammakaya.net/whoweare/Sun_of_peace_Ven.Dhammajayo_biography10_th.php ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย: เข้าสู่ร่มผ้ากาสาวพัสตร์]</ref> เป็นพระอุปัชฌาย์ มีโดยได้รับฉายาว่า "ธัมมชโย" แปลว่า "ผู้ชนะโดยธรรม" พระครูพิพัฒน์ธรรมคณี เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระวิเชียรกวี เป็นพระอนุสาวนาจารย์
 
เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับถวายปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
บรรทัด 41:
[[ไฟล์:หลวงพ่อและคุณยายช่วงแรกก่อสร้างศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม.jpg|thumb|ช่วงแรกก่อสร้างศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม]]
[[ไฟล์:หลวงพ่อธัมมชโยช่วงแรกก่อสร้างวัดพระธรรมกาย.jpg|thumb|ช่วงก่อสร้างศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม]]
วันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2513]] หลวงพ่อธัมมชโยพระเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย)และหมู่คณะรวมทั้งผู้มีจิตศรัทธาได้พัฒนาผืนนา 196 ไร่ เป็นสำนักสงฆ์ตามระเบียบการสร้างวัด ให้ชื่อว่า '''"ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม"''' เมื่อ[[วันมาฆบูชา]] โดยมีคำขวัญคือ '''"สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ สร้างคนให้เป็นคนดี"''' ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ "ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม" เป็น วัดพระธรรมกาย เมื่อ [[พ.ศ. 2524]]
 
ภายหลังจากที่พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) ได้ก่อตั้งมูลนิธิธรรมกาย ต่อมาได้เข้าเป็นสมาชิกของ[[องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก]]ในปี [[พ.ศ. 2529]] เข้าเป็นสมาชิกของ[[องค์การสหประชาชาติ]]ในปี [[พ.ศ. 2529]] และเข้าเป็นสมาชิกของ[[องค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก]]ในปี [[พ.ศ. 2533]]
 
ภายหลังงานกฐินในปี พ.ศ. 2552 ได้เริ่มก่อสร้างศาสนสถานขึ้นอีกหลังหนึ่ง โดยให้ชื่อว่า "อาคารร้อยปีคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง" ตามชื่อของแม่ชีอุบาสิกาที่ได้สอนธรรมะปฏิบัติให้แก่พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)
 
== ผลงานในพระพุทธศาสนา ==
บรรทัด 51:
ในปี พ.ศ. 2531 พิธีมอบทุนการศึกษาและมุทิตาสักการะพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค เริ่มครั้งแรก ปัจจุบันจัดขึ้นเป็นปีที่ 26
 
ในปี [[พ.ศ. 2535]]วัดพระธรรมกายภายใต้การนำของพระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย) ได้ขยายงานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาออกไปวัดศูนย์สาขาในประเทศไทยและต่างประเทศ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศนั้น ได้สร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมแห่งแรกขึ้นที่รัฐ[[แคลิฟอร์เนีย]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] ปัจจุบันมีวัดศูนย์สาขาใน[[ทวีปอเมริกา]] [[ทวีปยุโรป]] [[ทวีปแอฟริกา]] [[โอเชียเนีย]] และ[[ทวีปเอเชีย]] รวมทั้งวัดสาขาและศูนย์ปฏิบัติธรรมในประเทศไทยกว่า 100 แห่ง<ref>[http://www.dhammakaya.net/en/centers/center-continent วัดศูนย์สาขาในต่างประเทศ] </ref>
 
พระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย) ได้ก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์เนีย]] (Dhammakaya Open University ; DOU) <ref>[http://www.dou.us มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์เนีย] </ref> ขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการสอนพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษาทั่วโลก ด้วยระบบทางไกล ในระดับปริญญาตรีและ[[ปริญญาโท]] มีทั้งภาค[[ภาษาไทย]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]
 
พระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย)ยังมอบหมายให้ทำ[[พระไตรปิฎก]][[คอมพิวเตอร์]]ขึ้นตั้งแต่ ปี [[พ.ศ. 2527]] และสำเร็จสมบูรณ์ออกเผยแพร่ไปทั่วโลกในปี [[พ.ศ. 2539]]
 
ในปี พ.ศ. 2541 ได้ดำริให้มีโครงการบวชอุบาสิกาแก้ว สำหรับประชาชนหญิงทั่วไป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
 
ในปี [[พ.ศ. 2547-2549]] เกิด[[คลื่นสึนามิ]]ขึ้นในหลาย[[จังหวัด]]ทาง[[ภาคใต้]]ของไทย <ref> [http://www.synergos.org/tsunamirecovery/Help Respond to the Indian Ocean Earthquake and TsunamisDhammakaya Foundation]
</ref> และได้เกิด[[อุทกภัย]]อีกหลายครั้งใน[[ภาคกลาง]]ของไทย เป็นเวลาหลายเดือน พระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย) ได้มอบหมายให้มูลนิธิธรรมกาย จัดเครื่องอุปโภคบริโภคไปช่วยเหลือตามวัดและชุมชนต่างๆ ในจังหวัดที่ประสบภัย เป็นเวลาหลายเดือนจนกระทั่งเข้าสู่ภาวะปกติ เมื่อเกิดภัยหนาวขึ้นในหลายจังหวัด พระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย)ก็ได้ส่งผู้แทนไปมอบเครื่องกันหนาวแก่ประชาชนในท้องที่ต่างๆ เช่นกัน
 
ในปี พ.ศ. 2551 ได้ดำริให้มีโครงการตักบาตรพระ 500,000 รูปทุกวัดทั่วไทย เพื่อนำจตุปัจจัยไทยธรรมไปถวายแด่พระสงฆ์ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงเป็นหนึ่งในโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก <ref>[http://www.kalyanamitra.org/u-ni-boon/main/index.php?option=com_content&task=view&id=256&Itemid=4 ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม 266 วัด และ ทำบุญอุทิศส่วนกุศลแด่ผู้วายชนม์ใน 4 จังหวัดภาคใต้]</ref><ref>[http://www.ibscenter.net/ibs/index.php?option=com_content&view=section&layout=blog&id=7&Itemid=60 โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก]</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2551 ได้ดำริให้มีโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก โดยมีโครงการย่อยชื่อ โครงการเด็กดีวีสตาร์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ฟื้นฟูศีลธรรมและวัฒนธรรมชาวพุทธ ให้แก่เยาวชนของประเทศไทย ต่อมาได้ขยายโครงการดังกล่าวไปยังประเทศมองโกเลีย และวางแผนเผยแผ่ไปยังประเทศต่างๆ ต่อไป จนกระทั่งเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2553 โครงการดังกล่าวได้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 5 จัดขึ้นโดยการรวมพลรวมกลุ่มเด็กดีวีสตาร์จากโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ 1 ล้านคน ภายใต้แนวคิด Change the world โดยให้เด็กดีวีสตาร์ได้เรียนรู้การพูดประโยคสำคัญในภาษาต่างต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาศีลธรรมและความดีงามเพื่อวางแผนการเผยแพร่พระพุทธศาสนาออกไปยัง 208 ประเทศในอนาคต นอกจากนั้นได้มีการมอบเหรียญเด็กดีวีสตาร์และทุนการศึกษาแก่เด็กดีวีสตาร์ที่มีผลการประเมินด้านคุณธรรมโดดเด่น 60,000 ทุน และมอบเหรียญครูผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลกที่เป็นผู้สนับสนุนให้เด็กดีวีสตาร์ได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางพัฒนาศีลธรรมที่ดีขึ้น โดยการผ่านกิจวัตรกิจกรรมตามหลักเกณฑ์การประเมินผล งานเด็กดีวีสตาร์ 1 ล้านคนนี้ ได้รับเกียรติจากประธานาธิบดีของสหพันธรัฐคาร์มิเกีย กล่าวสุนทรพจน์ และ มีปรารภที่ริเริ่มนำโครงการเด็กดีวีสตาร์ ไปสานต่อที่สหพันธรัฐคาร์มิเกียผ่านกระทรวงศึกษาธิการต่อไป
 
ในปี พ.ศ. 2552 ได้ดำริให้เริ่ม'''โครงการบวชพระธรรมทายาทรุ่นเข้าพรรษา 1,000 รูป''' ซึ่งเป็นการอุปสมบทหมู่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยให้ชื่อรุ่นอุปสมบทนี้ว่า " กองพันสถาปนา" ซึ่งกองพันสถาปนานี้ได้วางแผนให้ทำหน้าที่เป็นพระพี่เลี้ยงแก่พระภิกษุที่จะอุปสมบทหมู่ 7000 รูป 7000 ตำบลทั่วไทย ต่อไป
และในปีเดียวกันนั้นเอง ได้ดำริให้ต่อเนื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างขวางออกไปด้วย โครงการอุปสมบทหมู่ 7000 รูป 7000 ตำบลทั่วไทย โดยให้ชื่อรุ่นการอุปสมบทนี้ว่า "กองพลสถาปนา" ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการหมื่นกว่ารูป ซึ่งมีระยะเวลาการอบรม 3 สัปดาห์
 
ในปี พ.ศ. 2552 ภายหลังจากสิ้นสุดระยะเวลาการฝึกอบรมพระภิกษุในรุ่นกองพันสถาปนา และ กองพลสถาปนาแล้ว มีพระภิกษุจำนวนหนึ่งยังคงครองเพศสมณะ ในการนี้พระธัมมชโยเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย) จึงได้ดำริ'''โครงการ "ธุดงค์ธรรมชัย"''' เพื่อให้พระภิกษุที่ผ่านการฝึกอบรมได้นำสิ่งที่ได้รับจากการอบรมนั้นไปพัฒนา รักษา และฟื้นฟูศรัทธาของพุทธศาสนิกชนในพื้นที่กันดารที่มีวัดร้าง ด้วยวิสัยทัศน์ที่ต้องการเปลื่ยนจากวัดร้างในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศไทยให้กลับเป็นวัดที่รุ่งเรือง เป็นที่พึ่งของพุทธศาสนิกชนอีกครั้ง โดยใช้ถ้อยคำที่สื่อสารในหมู่ชาววัดพระธรรมกายว่า "ทำวัดร้างให้กลายเป็นวัดรุ่ง"
 
ในปลายปี พ.ศ. 2552 นั้นได้ดำริโครงการอุปสมบทหมู่ ในชื่อของ '''"โครงการบวชพระแสนรูป ถวายเป็นพุทธบูชาเพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา"''' โดยมีช่วงเวลาอุปสมบทจำนวน 49 วัน โดยให้ชื่อพุทธบุตรหรือ พระภิกษุสงฆ์ที่เข้าอุปสมบทหมู่ว่า''' "ธรรมทายาท"''' ในระหว่างการอบรมในโครงการบวชพระแสนรูป เหล่าธรรมทายาทได้ออกเดินธุดงค์ ซึ่งให้ชื่อว่า '''"ธุดงค์ธรรมชัย"''' ไปยังวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ในช่วงวันที่ 18-25 กุมภาพันธ์ 2553 โดยให้คำว่า'''"พระแท้"''' เป็นจุดมุ่งหมายของการอุปสมบทหมู่และการเดินธุดงค์ดังกล่าว เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาและกอบกู้ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระรัตนตรัยสืบต่อไป
บรรทัด 95:
== ช่วงเวลาการเทศน์สอน ==
 
วันจันทร์ถึงวันเสาร์ เวลา 19.30 น. - 22.00 น. พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)จะทำการลงเทศน์สอนธรรมะสดผ่านระบบ[[อินเทอร์เน็ต]] และระบบโทรทัศน์เพื่อการศึกษาผ่าน[[ดาวเทียม]]ช่อง[[ดีเอ็มซี]]ในรายการ [[โรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา]] โดยเนื้อหาการเทศน์สอนครอบคลุมกรณีศึกษาเรื่อง [[กฎแห่งกรรม]] ที่มีการประยุกต์นำภาพและเพลงมาประกอบการเทศน์สอน ส่วนวันอาทิตย์ จะลงเทศน์สอนธรรมปฏิบัติในสองช่วงเวลาคือ 9.30 น. - 11.00 น. และ 13.30 น. - 16.00 น.
 
นอกจากนี้ท่านยังดำริให้ช่องดีเอ็มซีทำรายการเผยแผ่การศึกษาพระพุทธศาสนาตลอด 24 ชั่วโมง ถ่ายทอดผ่านดาวเทียม 7 ดวง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วโลก มีการแปลเป็นภาษาต่างๆ อาทิเช่น ภาษาอังกฤษ [[ภาษาจีน]] [[ภาษาลาว]] [[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษาญี่ปุ่น]] และ[[ภาษาเขมร]] เป็นต้น
บรรทัด 101:
== สื่อธรรมะ ==
 
พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ได้เผยแผ่ธรรมะผ่านหนังสือและบทเพลงธรรมะจำนวนมาก ภายใต้นามแฝงว่า '''"ตะวันธรรม"''' อาทิ พระธรรมเทศนาพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) ชุดธรรมะเพื่อประชาชน, เพลง ชีวิตสมณะ เป็นต้น
 
== รางวัล ==
บรรทัด 115:
* พ.ศ. 2551 ได้รับรางวัลสถานีโทรทัศน์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาดีเด่น จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
* 24 เมษายน พ.ศ. 2552: คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร ถวายรางวัลผู้ทำประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ระดับ วัชรเกียรติ <ref>[http://newweb.bpct.org/content/view/293/2/กรรมาธิการศาสนาฯ ถวายรางวัลผู้ทำประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2552 เว็บไซต์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย]</ref><ref>[http://www.mcu.ac.th/site/news_in.php?group_id=1&NEWSID=4106 กรรมาธิการศาสนาฯ ถวายรางวัลผู้ทำประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2552 เว็บไซต์ ศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนา]</ref>
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554: ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ '''พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) ศรีธรรมโกศล โสภณภาวนานุสิษฐ์ มหาคณิตสร บวรสังฆาราม คามวาสี
'''<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20111130/116521/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AF%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%86%E0%B9%8C93%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B.html โปรดเกล้าฯเลื่อนสมณศักดิ์คณะสงฆ์93รูป]</ref>
* 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556: ได้รับรางวัลผู้นำชาวพุทธที่อุทิศตนเพื่อเผยแพร่หลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ระดับสูงสุด Noble Peace Award จากการประชุมขององค์การยุวพุทธสงฆ์โลก ประเทศศรีลังกา (World Buddhist Sangha Youth:WBSY)
บรรทัด 123:
== คดีความ ==
 
ในช่วง พ.ศ. 2540-2541 สื่อมวลชนได้จุดประเด็นวิพากษ์วิจารณ์พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) และทีมงาน รวมถึงมีการเผยแพร่ข่าวเชิงลบอย่างต่อเนื่อง เช่น ประเด็นการยักยอกทรัพย์ และการบริหารเงินบริจาค และมีความพยายามเปลี่ยนการเรียกนามของพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เป็น "นายไชยบูลย์ สุทธิผล" โดยด้วยความผิดทางพระธรรมวินัยขั้น[[ปาราชิก]] ในข้อหายักยอกทรัพย์ ซึ่งในขณะนั้นปรากฏว่ามีศิษยานุศิษย์บางส่วนได้เกิดความไม่มั่นใจและถอนตัวออกไปจากวัด แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงมีศิษยานุศิษย์ของวัดพระธรรมกายอีกจำนวนมากที่ยังคงมีความเลื่อมใสศรัทธาอย่างแรงกล้า และได้ออกมาปกป้องพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) ว่าถูกขบวนการทำลายล้างวางแผนทำลายชื่อเสียงวัดพระธรรมกายและพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) ผ่านสื่อมวลชนและการกดดันทางการเมืองและเจ้าคณะผู้ปกครองคณะสงฆ์ อีกทั้งเชื่อว่าบุคคลในห้องกระจกอาจมีส่วนรู้เห็นในการปลอมแปลงพระลิขิตสมเด็จพระสังฆราชเพื่อหวังผลในการจับสึกพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) <ref>[http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=dmc&month=11-2006&date=08&group=11&gblog=5 ห้องกระจกคืออะไร?]</ref> ในขณะที่คณะวัดพระธรรมกายได้มีความพยายามออกแถลงการณ์เพื่อชี้แจงข้อสงสัยอยู่เป็นระยะ อย่างไรก็ตามขบวนการโจมตีวัดพระธรรมกายก็ยังคงพยายามชี้นำสังคมให้เกิดความเคลือบแคลงสงสัยวัดพระธรรมกายอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน ภายหลังสื่อมวลชนทั้งหลายได้ออกมาขอขมาวัดพระธรรมกาย เพราะว่าได้ลงข่าวที่ไม่เป็นความจริงลงไปอย่างมากมาย ทำให้วัดพระธรรมกายและพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ได้รับความเสียหาย
 
ในระหว่างที่คดียังคงอยู่ในกระบวนพิจารณาในชั้นศาลพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)และคณะวัดพระธรรมกาย ได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา แต่ในระหว่างการพิจารณาคดีดังกล่าว สื่อมวลชนบางสำนักได้นำเสนอข่าวแพร่สะพัดออกไปในทางเสื่อมเสีย จึงได้มีการฟ้องกลับสื่อมวลชนต่อขบวนการยุติธรรม ซึ่งต่อมาศาลอาญาได้พิพากษา ว่าการกระทำดังกล่าวของสื่อมวลชนเป็นความผิด และได้ลงโทษให้ประกาศข้อความขอขมาวัดพระธรรมกายและพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) ทางหนังสือพิมพ์ หลายฉบับ ทั้งมติชน<ref>[http://www.kalyanamitra.org/news/goodnews/kalyanamitranews/GOODNEWS/innewswat/july/july07.jpg มติชน ฉบับวันเสาร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2546]</ref> กรุงเทพธุรกิจ สยามรัฐ
 
กระทั่งในปี พ.ศ. 2549 สำนักงานอัยการสูงสุดได้ถอนฟ้องคดีทั้งหมดของพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) หลังจากนั้นสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้ประกาศรับรองความบริสุทธิ์ของพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) และมหาเถรสมาคมได้ส่งผู้แทนมายังวัดพระธรรมกายเพื่อถวายคืนตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายแก่พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) สำหรับประเด็นนี้นักวิชาการบางคน เช่น ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง<ref name="เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง">[http://www.dailynews.co.th/crime/121683 เจิมศักดิ์ ปิ่นือง], เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง.</ref> นักวิจารณ์เหตุการณ์บ้านเมืองซึ่งถูกคดีอาญาหมิ่นประมาทผู้อื่น ศาลสั่งจำคุกในช่วง มิ.ย. 55 ที่ผ่านมา เคยเขียนบทความวิพากษ์คำตัดสินของศาลว่ามีการใช้อิทธิพลของผู้มีอำนาจระดับสูงเพื่อให้พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)พ้นคดี{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} ในขณะที่กลุ่มผู้สนับสนุนวัดพระธรรมกายได้ออกมาแย้งในรูปแบบต่างๆ ว่า คดีของวัดพระธรรมกายที่เกิดขึ้นเป็นเพราะมีการใช้อิทธิพลของผู้มีอำนาจระดับสูงกดดันหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินคดีกับวัดพระธรรมกายและพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)เช่นกัน ด้วยเหตุผลที่วัดพระธรรมกายเป็นศูนย์กลางของการดำเนินงานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมถึงมีศิษยานุศิษย์ในทุกระดับชั้นของสังคมและทั่วโลก จึงเกรงว่าหมู่คณะวัดพระธรรมกายอาจมีอำนาจการต่อรองทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย
 
ตามคำแถลงขอถอนฟ้องของอัยการมีความว่า “สำหรับในด้านทรัพย์สินนั้น ปรากฏว่า จำเลยที่ 1 (นายไชยบูลย์ สุทธิผล) กับพวก ได้มอบทรัพย์สินทั้งหมด ซึ่งมีทั้งที่ดินและเงินจำนวน 959,300,000 บาท คืนให้แก่วัดพระธรรมกาย การกระทำดังกล่าวของจำเลยที่ 1 กับพวก จึงเป็นการปฏิบัติตามพระลิขิตของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ครบถ้วนทุกประการแล้ว”
 
ซึ่งการที่อัยการอ้างว่า นายไชยบูลย์ สุทธิผล ได้มอบทรัพย์คืนแก่วัดไปแล้ว ซึ่งคดียักยอกทรัพย์ก็ถือเป็นอันยุติลง สำหรับเรื่องคดีและคำถอนฟ้องนั้น เป็นเรื่องของการเขียนสำนวนคดีทางกฎหมาย จึงต้องเขียนไปในลักษณะเช่นนั้น แต่ในความเป็นจริงพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (ไชยบูลย์ สุทธิผลพระเทพญาณมหามุนี(ธมฺมชโย) ไม่ได้นำเงินนั้นไปใช้ส่วนตัว และเงินนั้นเป็นเงินที่พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)หามาสร้างและบำรุงวัด บำรุงพระพุทธศาสนา ดูแลพระภิกษุ สามเณร บุคลากร เจ้าหน้าที่ อาสาสมัครในวัด รวมทั้งสาธุชนที่มาปฏิบัติธรรมให้ได้รับความสะดวก เหมาะสมต่อการปฏิบัติบุญกิริยาวัตถุ 3 (ทาน ศีล ภาวนา) และปฏิบัติไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) พระราชภาวนาวิสุทธิ์ เทพญาณมหามุนี(ไชยบูลย์ สุทธิผลธมฺมชโย) จึงไม่ได้กระทำผิดตามพระธรรมวินัยแต่อย่างใด เพราะไม่ได้ขโมย และไม่ได้นำเงินนั้นไปใช้จ่ายเพื่อประโยชน์ส่วนตัวแต่อย่างใด<ref name="ปาราชิก">[http://trang82.wordpress.com/2011/05/25/ปาราชิก-คืออะไร/ ปาราชิก], ปาราชิกคืออะไร.</ref>
 
== แนวทางวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและแนวคำสอน ==
==== เสียงวิพากษ์วิจารณ์เมื่อขยายงานพระศาสนา ====
 
พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย) มีแนวคิดที่จะรวมคณะสงฆ์ทั่วโลก เพื่อประชุมเปรียบเทียบคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏอยู่ในแต่ละนิกาย<ref>[http://www.kalyanamitra.org/u-ni-boon/main/index.php?option=com_content&task=view&id=518&Itemid=4 เป้าหมายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของวัดพระธรรมกาย]</ref> จึงเป็นที่มาของการวิพากษ์วิจารณ์ว่าพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ต้องการสร้างความยิ่งใหญ่ให้กับตนเอง ซึ่งทางกลุ่มผู้สนับสนุนได้โต้แย้งว่าการสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นกับพุทธบริษัททั้งสี่นั้นเป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคน ซึ่งการที่พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ตั้งใจสร้างความสามัคคีของชาวพุทธทั่วโลกให้เกิดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่ควรแก่การส่งเสริมและสนับสนุนมากกว่าการมุ่งร้ายทำลายกันเองระหว่างหมู่พุทธศาสนิกชน
 
นอกจากนั้นในหมู่ของชาว[[วัดพระธรรมกาย]]ได้รับคำสั่งสอนและให้คุณค่าของการกระทำความดีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันว่า คือการสร้างบารมีตามเยี่ยงอย่างพระบรมโพธิสัตว์ในกาลก่อน และ เป็นสิ่งที่ชาวพุทธที่ดีควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง
 
วัดพระธรรมกายภายใต้การนำของพระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)มีความตั้งใจที่จะสร้างความสามัคคีของคณะสงฆ์และพุทธบริษัทสี่ทั่วโลก พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ได้ดำริโครงการต่างๆและสร้างงานบุญพิธีอันยิ่งใหญ่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบต่างๆ เช่น การระดมทุนเพื่อการสร้างศาสนวัตถุขนาดใหญ่, การฝึกอบรมในโครงการต่างๆ อาทิ โครงการอบรมธรรมทายาท ซึ่งมีทั้งในรูปแบบของการอุปสมบทพระภิกษุ อบรมธรรมทายาทหญิง อบรมอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก โครงการเด็กดีวีสตาร์ โครงการตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้า เป็นต้น โดยให้เหตุผลเพื่อการเผยแผ่และค้ำจุนพระพุทธศาสนา ในขณะที่ชาวพุทธชาวไทยส่วนหนึ่ง มองการกระทำดังกล่าวเป็นการกระทำที่สุดโต่ง ไม่สันโดษ ไม่สมถะ แอบแฝงเป็นพุทธพาณิชย์
 
แม้จะมีความไม่เห็นด้วยดังกล่าว พระเทพญาณมหามุนี(ธัมมชโยธมฺมชโย)ก็ยังมั่นคงในปนิธานปณิธานที่จะบวชอุทิศชีวิต และถือหลักคติว่าคนเราเมื่อจะทำความดีแม้มีผู้ไม่เห็นด้วยก็จะต้องอดทนโดยต้อง "ไม่สู้ ไม่หนี แต่ให้ทำความดีเรื่อยไป" ซึ่งหลักการนี้นำมาจากโอวาทปาติโมกข์<ref name="โอวาทปาติโมกข์">[http://myfri3nd.myfri3nd.com/blog/2011/02/17/entry-2 โอวาทปาติโมกข์], โอวาทปาติโมก หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนา.</ref> ที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสไว้ในวันมาฆบูชา โดยยังลงเทศนาสั่งสอนธรรมะทุกวันอย่างต่อเนื่อง และตั้งใจที่จะอุทิศตนเผยแผ่ ''พระพุทธศาสนา'' เพื่อการปฏิบัติธรรมให้เข้าถึงพระธรรมกายแก่มหาชนทั้งภายในประเทศไทยและนานาประเทศทั่วโลกตราบจนหมดอายุขัย
 
== อ้างอิง ==