ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
'''วิศวกร''' คือผู้ที่ประกอบอาชีพทางด้าน[[วิศวกรรม]] มีหน้าที่ ศึกษาวิเคราะห์ คำนวณ ออกแบบ ตรวจสอบแก้ไขปัญหาและควบคุมการผลิต อาทิ การก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง การออกแบบและผลิตรถยนต์ การควบคุมเครื่องจักรกลโรงงานต่าง ๆ โดยวิศวกรยังแบ่งออกได้เป็นหลายสาขา เช่น [[วิศวกรรมเครื่องกล|วิศวกรเครื่องกล]] [[วิศวกรรมโยธา|วิศวกรโยธา]] [[วิศวกรรมไฟฟ้า|วิศวกรไฟฟ้า]]วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมอากาศยาน วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมเซรามิก วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมธรณี ฯลฯ
== วิศวกรในประเทศไทย ==
 
[[กฎหมาย]]ไทย (กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 3 และ 4 (พ.ศ. 2508) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505) กำหนดให้ วิศวกรในบางสาขาจำเป็นต้องมี[[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม]] หรือที่รู้จักกันว่า "ใบกว." เพื่อการประกอบอาชีพด้วย ได้แก่ สาขา โยธา เครื่องกล ไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าสื่อสาร อุตสาหการ เหมืองแร่ สิ่งแวดล้อม และเคมี ใบประกอบวิชาวิศวกรรมแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ1ดังนี้
*ภาคีวิศวกร2.
*สามัญวิศวกร 3.
*วุฒิวิศวกร โดยมีสภาวิศวกรเป็นผู้พิจารณาออกใบอนุญาต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ แขนง ลักษณะ และ ขนาด ของงานด้วย เช่น ขอบเขตของงานให้คำปรึกษาของสาขาวิศวกรรมโยธา ข้อหนึ่งคือ "อาคารตั้งแต่สามชั้นขึ้นไปที่ก่อสร้างห่างจากทางสาธารณะไม่เกินสิบสี่เมตร" หรือ งานออกแบบและคำนวณ ของสาขาวิศวกรรมอุตสาหกรรม กำหนดขอบเขต คือ "งานอุตสาหกรรมของโรงงานที่ใช้ลูกจ้าง ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปหรือของโรงงานขนาดที่ต้องลงทุนตั้งแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป" - แต่ถ้าหากสาขา แขนง ลักษณะ และ ขนาดของงาน ไม่เข้าข่ายที่กำหนด ก็ไม่จำเป็นต้องมีใบอนุญาต
:ในปัจจุบัน การศึกษาทางด้านวิศวกรรมในประเทศไทย ได้มีการขยายตัวมากขึ้น มีสถาบันการศึกษาหลายสถาบันได้ทำการเปิดสอนในหลักสูตร [["วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต"]] ทำให้โอกาสทางการศึกษาทางด้านวิศวกรรมมีเพิ่มมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม สถาบันการศึกษาเหล่านั้นก็จะต้องให้ความสำคัญกับคุณภาพของการศึกษาด้วยความเอาใจใส่ เพื่อคุณภาพของ [["บัณฑิตวิศวกรรม"]]
 
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วิศวกร"