ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 28:
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือเป็นคัมภีร์หลักอีกเล่มหนึ่งที่มีการแปลเป็นภาษาจีน ทั้งยังเป็นพระสูตรยุคแรกสุด ที่ระบุคำว่า "[[มหายาน]]"ด้วย
 
[[พระวสุพันทุ]]ได้รจนาอรรถกถาพระสูตรนี้เป็นฉบับย่อ ให้ชื่อว่า "สัทธรรมปุณฑรีกสูตรอุปเทศ" ในประเทศจีนได้มีคัมภีรชั้นฎีกาเกิดขึ้นมากมาย เช่น ของท่านเต้าเซิง, ฝ่าอวิ่น, [[จื้ออี]], จี้จ้าง และกุยจี เป็นต้น แม้แต่ท่านจื้ออี (มหาคุรุเทียนไท้) ผู้สถาปนา[[นิกายเทียนไท้]] ก็ได้อาศัยพื้นฐานจากพระสูตรเล่มนี้ ในญี่ปุ่น [[เจ้าชายโชโทะคุโชโตะกุ]]ได้ทรงแต่งอรรถาธิบายพระสูตรนี้ในชื่อว่า "ฮอกเกกิโชฮกเกกิโช" [[พระนิชิเรน]]ผู้สถาปนานิกาย[[นิชิเรนโชชู]]ก็ได้อาศัยพระสูตรเล่มนี้และเชื่อว่าเป็นพระสูตรที่สามารถทำให้บรรลุพุทธภาวะได้ในอัตตภาพปัจจุบัน ซึ่งพระสูตรเล่มนี้มีอิทธิพลอย่างมาก จนเกิดเป็นองค์กรทางศาสนาและสวดท่องพระสูตรนี้ เช่น นิกาย[[นิชิเรนโชชู]] [[สมาคมสร้างคุณค่า]] เป็นต้น
 
== ฉบับแปลภาษาอื่นๆ ==