ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
{{คำพูด|"''กรุงธนบุรียังไม่มีกำแพงเป็นที่มั่น จะได้ป้องกันศัตรูหมู่ปัจจามิตร ยังหาเป็นภูมิราชธานีไม่ ให้เกณฑ์ไพร่พลในกรุง พลหัวเมือง มาระดมทำค่ายตะวันตก ตั้งแต่มุมกำแพงเมืองเก่าที่เป็นที่ตั้งพระราชวัง แล้วให้ขุดคลองหลังเมือง แต่คลองบางกอกน้อยมาออกคลองบางกอกใหญ่ เอามูลดินขึ้นถมเป็นเชิงเทินทั้งสามด้าน''"<ref>[http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=186"คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก เหลือฐานะแค่ท่อระบายน้ำ"] มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ บทความโดย ภาณุพงษ์ ไชยคง</ref> }} และรื้ออิฐจากกำแพงค่ายพม่าที่สีกุก บางไทร และโพธิ์สามต้น รวมทั้งกำแพงเก่าเมืองพระประแดง<ref>[http://dds.bangkok.go.th/Csd/canal_h8.htm "คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก"]จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์ ของคณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พุทธศักราช 2525 โดยกองระบบคลอง</ref> เสร็จสิ้นเป็นคูเมืองกว้าง 6 เมตร ยาว 4 กิโลเมตร
 
==สภาพปัจจุบัน==
สำหรับสภาพคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกในปัจจุบัน ถือว่าต่างจากคลองคูเมืองฝั่งตะวันออกหรือคลองคูเมืองเดิมอย่างชัดเจน เนื่องจากคลองคูเมืองเดิมได้มีการปรับปรุงทัศนียภาพเป็นประจำทุกปี ทำให้คลองคูเมืองเดิมมีน้ำใสสะอาดและมีบรรยากาศริมคลองที่ร่มรื่นและสวยงาม ซึ่งผิดจากคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกที่ในปัจจุบันมีการสร้างตลิ่งคอนกรีตและวางเขื่อนดาดท้องคลองตั้งแต่ช่วงวัดโมลีโลกย์จนถึงช่วงตัดคลองมอญ และเมื่อตัดเข้าพื้นที่เขตบางกอกน้อย ก็ยังมีการสร้างประตูระบายน้ำปิดคลอง ซึ่งเป็นนโยบายป้องกันน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร และเมื่อผ่านตั้งแต่โรงพยาบาลศิริราชขึ้นไป จนถึงบริเวณวัดวิเศษการ กลับมีสภาพที่เล็กและแคบลงเรื่อยๆ รวมทั้งมีต้นไม้และวัชพืชขึ้นหนาทึบเต็มคลอง และเมื่อถึงบริเวณสถานีรถไฟธนบุรี คลองบ้านขมิ้นก็กลายเป็นท่อระบายน้ำลงคลองบางกอกน้อย ซึ่งถือว่าเป็นการสิ้นสุดคลองประวัติศาสตร์สายนี้ด้วยความน่าเศร้าใจ เพราะในปัจจุบัน คลองคูเมืองฝั่งตะวันตกมีสภาพตื้นเขินและน้ำเน่าเสีย และไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาดูแล รวมทั้งยังเป็นที่ทิ้งขยะและน้ำเน่าเสียจากบ้านเรือนต่างๆ ที่อยู่ติดกับคลอง ซึ่งทำให้คลองคูเมืองฝั่งตะวันตกในปัจจุบัน ไม่หลงเหลือสภาพของคูเมืองในอดีตให้เห็นเลยแม้แต่น้อย
 
ในปัจจุบันคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น เมื่อผ่านในบริเวณวัดโมลีโลกยาราม มีชื่อเรียกกันว่า'''คลองวัดโมลีโลกย์'''หรือ'''คลองวัดท้ายตลาด''' เมื่อตัดผ่านเข้าไปในพื้นที่[[เขตบางกอกน้อย]] มีชื่อเรียกคือ'''คลองบ้านขมิ้น'''ไปจนสุดคลอง
 
สำหรับสภาพคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกในปัจจุบัน ถือว่าต่างจากคลองคูเมืองฝั่งตะวันออกหรือคลองคูเมืองเดิมอย่างชัดเจน เนื่องจากคลองคูเมืองเดิมได้มีการปรับปรุงทัศนียภาพเป็นประจำทุกปี ทำให้คลองคูเมืองเดิมมีน้ำใสสะอาดและมีบรรยากาศริมคลองที่ร่มรื่นและสวยงาม ซึ่งผิดจากคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกที่ในปัจจุบันมีการสร้างตลิ่งคอนกรีตและวางเขื่อนดาดท้องคลองตั้งแต่ช่วงวัดโมลีโลกย์จนถึงช่วงตัดคลองมอญ และเมื่อตัดเข้าพื้นที่เขตบางกอกน้อย ก็ยังมีการสร้างประตูระบายน้ำปิดคลอง ซึ่งเป็นนโยบายป้องกันน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร และเมื่อผ่านตั้งแต่โรงพยาบาลศิริราชขึ้นไป จนถึงบริเวณวัดวิเศษการ กลับมีสภาพที่เล็กและแคบลงเรื่อยๆ รวมทั้งมีต้นไม้และวัชพืชขึ้นหนาทึบเต็มคลอง และเมื่อถึงบริเวณสถานีรถไฟธนบุรี คลองบ้านขมิ้นก็กลายเป็นท่อระบายน้ำลงคลองบางกอกน้อย ซึ่งถือว่าเป็นการสิ้นสุดคลองประวัติศาสตร์สายนี้ด้วยความน่าเศร้าใจ เพราะในปัจจุบัน คลองคูเมืองฝั่งตะวันตกมีสภาพตื้นเขินและน้ำเน่าเสีย และไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาดูแล รวมทั้งยังเป็นที่ทิ้งขยะและน้ำเน่าเสียจากบ้านเรือนต่างๆที่อยู่ติดกับคลอง ซึ่งทำให้คลองคูเมืองฝั่งตะวันตกในปัจจุบัน ไม่หลงเหลือสภาพของคูเมืองในอดีตให้เห็นเลยแม้แต่น้อย
==แหล่งอ้างอิง==
<references/>