ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
บิดาของเจ้าพระยาพิษณุโลกคือ '''พราหมณ์ศิริวัฒนะ''' หรือ'''พระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ วงศ์บริโสดมพราหมณ์ทิชาจารย์''' ปรากฏราชทินนามว่า '''พระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ องค์ปุริโสดมพรหมญาณวิบุลสิลสุจริต วิวิทธเวทยพรหมพุทธาจารย์ปุโรหิต''' ราชปุโรหิตในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 ถือศักดินา 10000 พราหมณ์ศิริวัฒนะมีบุตร 2 คนคือ เจ้าพระยาพิษณุโลกและเจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล) ซึ่งเป็นพี่น้องกัน เจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล) เป็นน้อง มีบุตรและธิดาปรากฏนาม 6 คนคือ
* [[กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามุก กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์]] พระภัสดาของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]] พระน้องนางเธอต่างพระชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]
* ญ. หญิงเลื่อน
* ญ. หญิงทองเภา
* เจ้าพระยาพลเทพ (ทองอิน)
* [[เจ้าพระยาอภัยราชา|เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)]]
* ท้าวทรงกันดาร (ทองศรี)
ส่วนเจ้าพระยาพิษณุโลก ผู้เป็นพี่ มีภริยาชื่อ "ท่านผู้หญิงเชียง" มีบุตรปรากฏนาม 3 คนคือ
* เจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด) (สายตระกูลเจ้าพระยาพิษณุโลก)
* เจ้าพระยาสุรินทรภักดี (บุญมี)
* เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)
บรรทัด 35:
 
== ราชการและบรรดาศักดิ์ ==
เจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) เริ่มรับราชการตั้งแต่วัยเยาว์ในรัชสมัย[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]] (พระเจ้าท้ายสระ) แต่ไม่ปรากฏตำแหน่งใด กรมใด บรรดาศักดิ์เท่าที่ปรากฏไว้มีดังนี้
 
* '''หลวงมหาอำมาตยาธิบดี (เรือง)''' ในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] (ไม่ทราบศักดินา)
* '''พระราชฤทธานนพหลภักดี (เรือง)''' ศักดินา 3000 รั้งหัวเมืองพิษณุโลก ในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] (หัวเมืองพิษณุโลกมีปลัดเมือง 2 คน ไม่ปรากฏชื่อปลัดขุนนางคนที่ 2)
* '''พระยาพิศณุโลก (เรือง)''' ศักดินา 10000 (พระยาพานทอง) สมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] ขึ้นกับกรมมหาดไทย เมืองพิษณุโลก ปรากฏราชทินนามว่า '''พระยาสุรสุนทรบวรพิศณุโลกาธิบดีณุวาธิราช อัครมหาสยามาธิราชภักดีชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยพิรียบรากรมภาหุ''' <ref>เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์. [ม.ป.ป]</ref>
* '''เจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง)''' ศักดินา 10000 (บรรดาศักดิ์ขุนนางชั้นสูงสุด) สมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] สมัย[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] และสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] (พระเจ้าเอกทัศ) พ.ศ. 2302 ปรากฏราชทินนามว่า'''เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ''' สำหรับตำแหน่งเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอกดัง ให้รับราชการเจ้าเมืองที่เมืองพิษณุโลก แม้ไม่ได้เป็นเจ้านายแต่ก็ยังอยู่ในฐานะพิเศษ เพราะเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองหลวงในช่วงที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ 1 ทรงครองราชย์ในช่วงราชอาณาจักรอโยธยาซึ่งเป็นช่วงที่มีส่งครามยืดเยื้อกับอาญาจักรล้านนา ไม่เพียงแต่เป็นเมืองพระมหาอุปราช แต่ยังเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่คอยดูแลหัวเมืองเหนือทั้งหมดและดูเหตุการณ์ด้านเมืองพม่าและเมืองมอญ
เจ้าพระยาสุรสีห์ ฯ นั้นเป็นราชทินนามประจำเจ้าเมืองพิษณุโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ สำหรับขุนนางบรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา และพระญาติพระวงศ์ที่ครองหัวเมืองพิษณุโลก
* '''พระเจ้าพิศณุโลก (เรือง)''' ราชาภิเษกตนเองเป็นพระมหากษัตริย์ครองหัว[[เมืองพิษณุโลก]] เมื่อ พ.ศ. 2311 สมัย[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
 
''หมายเหตุ:
''หมายเหตุ: สันนิษฐานว่าอาจจะได้ตั้งบรรดาศักดิ์ชั้นพระยา และเจ้าพระยาในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] เนื่องจากไม่พบหลักฐานว่า[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]ตั้งเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เพราะขณะนั้นเป็นช่วงฉุกละหุกเกิดการสับเปลี่ยนกษัตริย์ภายในราชวงศ์ ประกอบกับหัวเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองเอกที่เป็นหน้าด่านเกิดสงครามบ่อยครั้ง อย่าไรก็ตามปรากฏบรรดาศักดิ์เด่นชัดของเจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) ในสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] เมื่อได้ทรงครองราชย์ต่อจาก[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]''
 
''หมายเหตุ:1) สันนิษฐานว่าอาจจะได้ตั้งบรรดาศักดิ์ชั้นพระยา และเจ้าพระยาในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] เนื่องจากไม่พบหลักฐานว่า[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]ตั้งเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เพราะขณะนั้นเป็นช่วงฉุกละหุกเกิดการสับเปลี่ยนกษัตริย์ภายในราชวงศ์ ประกอบกับหัวเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองเอกที่เป็นหน้าด่านเกิดสงครามบ่อยครั้ง อย่าไรก็ตามปรากฏบรรดาศักดิ์เด่นชัดของเจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) ในสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] เมื่อได้ทรงครองราชย์ต่อจาก[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]''
 
2) สันนิษฐานว่าเจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) อาจเกี่ยวดองกับ[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]ในฐานะเครือญาติ ได้รับการไว้วางพระทัยให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนหัวเมืองพิษณุโลกทุกรัชสมัย และมีการกล่าวถึงในพระนิพนธ์เรื่อง ไทยรบพม่า ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตอนเจ้าฟ้าจีดพาพรรคพวกหนีไปยังเมืองพิษณุโลกว่าทำนองจะเกี่ยวดองว่าเป็นญาติกับเจ้าพระยาพิศณุโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง
 
3) เจ้าเมืองพิษณุโลกทำพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาร่วมกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ <ref>ศิลปากร. เล่มที่ 48 ฉบับที่ 1-3.</ref>
 
== เครื่องยศขุนนางที่ได้รับพระราชทาน ==
เส้น 64 ⟶ 70:
เมื่อ พ.ศ. 2304 ภายหลังจากที่ “[[เนเมียวสีหบดี]]” เสร็จสิ้นจากการไปตีหัวเมืองมอญแล้ว “มังลอก” พระโอรสองค์ใหญ่ของ[[พระเจ้าอลองพญา]] จัดทัพมาตีเชียงใหม่ โดยมี “อภัยคามณี” เป็นแม่ทัพ และ “มังละศิริ” เป็นปลัดทัพพร้อมด้วยพลจำนวน 7,500 นาย พระเจ้าจันทร์ เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ทรงแต่งหนักสือมาถวายพระเจ้าเอกทัศพร้อมด้วยเครื่องราชบรรณาการ มีพระประสงค์ให้เชียงใหม่เป็นเมืองออกของอยุธยา และขอกำลังทหารไปรักษาเมียงใหม่ พระเจ้าเอกทัศจึงตรัสสั่งให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เกณฑ์ทัพพลหัวเมืองเหนือจำนวน 5,000 นาย ยกไปช่วยเมืองเชียงใหม่ แต่ก่อนที่ทัพเจ้าพระยาพิษณุโลกจะไปถึงนั้น ฝ่ายพม่าก็ล้อมเมืองเชียงใหม่ แต่ฝ่ายเชียงใหม่มีกำลังไม่แข็งกล้านักจึงเสียเมืองให้แก่ฝ่ายพม่าไป โดยมี “เนเมียวสีหบดี” อยู่รักษาเมืองเชียงใหม่
 
เมื่อ พ.ศ. 2309 “[[เนเมียวสีหบดี]]” ซึ่งอยู่รักษาเมืองเชียงใหม่กับ “[[มังมหานรธา]]” ซึ่งอยู่รักษาเมืองที่ทวายได้รับหนังสือจากพระเจ้ามังระภายหลังจากที่เสด็จไปประทับกรุงอังวะ เมืองหลวงของพม่าว่าให้ยกทัพไปตีกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ก็เป็นพระประสงค์ของพระเจ้าอลองพญาที่ตรัสสั่งไว้ก่อนสิ้นพระชนม์ว่าให้ตีอยุธยาให้ได้ ทั้งสองจึงต่างเกณฑ์พลยกทัพเข้าปล้นเมืองต่าง ๆ อีกฝ่ายหนึ่งบุกปล้นตั้งแต่เมืองนครสวรรค์ลงมาถึงเมืองอินทรเมืองพรหม (จังหวัดสิงห์บุรี) อีกฝ่ายหนึ่งก็ปล้นอยู่แถวเมืองสุพรรณบุรี เมืองราชบุรี และเพชรบุรี แล้วจึงมารวมทัพกัน <ref>Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. pp. 188–190.</ref> โดยหวังทำลายกำลังฝ่ายอยุธยาตั้งแต่ชั้นนอก พระเจ้าเอกทัศจึงตรัสให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เกณฑ์ทัพหัวเมืองเหนือไปขับไล่ และให้ทัพในกรุงยกทัพไปไล่พม่าทั้งด้านเมืองนครสวรรค์และเมืองราชบุรีด้วย โดยทัพด้านเหนือให้พระยาธิเบศร์บริวัตรเป็นแม่ทัพ ทัพใต้ให้พระสุนทรสงครามเป็นแม่ทัพ ต่อมาพระเจ้าเอกทัศทรงทราบความว่าตามตีมาจนถึงธนบุรีก็ตกพระทัยเกรงว่าพม่าจะล่วงจู่โจมเข้าถึงพระนคร จึงให้พระยารัตนาธิเบศร์คุมกองทัพซึ่งเกณฑ์มาจากนครราชสีมาลงมารักษาธนบุรีอีกทัพหนึ่งให้พระยายมราชคุมกองทัพอีกกองหนึ่งลงมารักษานนทบุรีคอยสกัดพม่าเอาไว้ ส่วนทัพของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ขับไล่พม่าจนมาสิ้นสุดที่พระนครศรีอยุธยา ณ [[วัดภูเขาทอง]] ตามพระประสงค์ของพระเจ้าเอกทัศ <ref>ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 64 พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)</ref> แต่เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ถือโอกาสให้เจ้าพระยาพลเทพกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชอนุญาตพระเจ้าเอกทัศแทนตนเพื่อขอไปปลงศพมารดาโดยให้หลวงโกษา (ยัง) และหลวงเทพเสนาคุมทัพ ต่อมาเนเมียวสีหบดีรวบรวมพลจากล้านนา และล้านช้างราว 2040,000 นาย จึงยกทัพจากเชียงใหม่แบ่งมาทางตาก และทางสวรรคโลก ตีหัวเมืองเหนือเรื่อยลงมา ฝ่ายเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองเหนือเห็นข้าศึกพม่ามามากมายจึงหลบหนีเข้าป่า พม่าก็ได้หัวเมืองเรื่อยมาตั้งแต่พิชัย สวรรคโลก มาตั้งอยู่ที่สุโขทัย เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) กับเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองเหนือจึงรวบรวมพลไปรบกับพม่าที่สุโขทัย และเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) มักถือดาบพระแสงราชสัตราศัสตราหรือพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ที่ได้รับพระราชทานจากพระเจ้าเอกทัศตลอดเวลาขณะไปราชการศึกหัวเมืองเหนือ
 
หลังจากเจ้าพระยาพิษณุโลกยกทัพออกไปแล้ว พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจีด กรมขุนสุรินทรสงคราม พระราชโอรสของพระองค์เจ้าชายแก้วกับเจ้าฟ้าหญิงเทพ พระราชธิดาของ[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]] (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระหรือเจ้าฟ้าเพชร) และเป็นพระราชนัดดาของ[[สมเด็จพระเพทราชา]] ขณะนั้นทรงต้องโทษอยู่ในกรุง เมื่อสถานการณ์ระส่ำระสาย เจ้าฟ้าจีดจึงตัดสินบนผู้คุมหลุดจากที่คุมขังแล้วจึงรวบรวมพรรคพวกยกกันไปเมืองพิษณุโลก เมื่อมาถึงแล้วไม่พบเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เจ้าเมือง จึงมีแผนหมายจะยึดเมืองพิษณุโลกโดยคิดหลอกให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เข้าใจผิดว่าเพื่อรักษาเมืองให้มั่นคง จึงเรียกขุนนางในเมืองสั่งความว่าตนจะเป็นเจ้าเมืองแทน ซึ่งหลวงโกษา (ยัง) ทหารเอกของเจ้าพระยาพิษณุโลกคิดเห็นชอบกับเจ้าฟ้าจีดด้วยเพราะเห็นว่าเป็นลูกหลานเจ้านาย แต่ญาติของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เห็นการณ์ ท่านผู้หญิงเชียง ภริยา และบ่าวไพร่จำนวนหนึ่งจึงรีบไปบอกความกับเจ้าพระยาพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) จึงเลิกทัพกลับมา เจ้าฟ้าจีดสั่งให้ทหารเตรียมรบป้องกันเมืองแต่ทหารกลับไม่ต่อสู้ใด ๆ เพราะทหารในเมืองต่างก็นับถือเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เมื่อทหารจับตัวเจ้าฟ้าจีดได้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) จึงว่ากล่าวติเตียนแล้วจับส่งตัวไปยังพระนคร แต่มีพม่าตั้งทัพอีกที่เมืองนครสวรรค์จึงลงไปพระนครไม่ได้ สั่งให้ทหารจับตัวเจ้าฟ้าจีดไปถ่วงน้ำที่เกยชัยบริเวณน้ำน่านและน้ำยม บรรดาพรรคพวกก็เอาไปประหารเสีย ในระหว่างที่เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) กลับมาปราบเจ้าฟ้าจีด พม่าถือโอกาสยกทัพล่วงเลยจากสุโขทัยมานครสวรรค์ลงมายังกำแพงเพชร หมายจะรุกรานกรุงต่อไป เมืองพิษณุโลกจึงมิได้เสียเมืองแก่พม่า (ทางไทยกล่าวว่า ''"...ทำนองเจ้าพระยาพิศณุโลกจะเปนคนเข้มแข็ง จึงรักษาเมืองพิศณุโลกไว้ได้..."'' แต่ทางพม่ากล่าวว่าได้เมืองพิษณุโลกด้วย) <ref>ดำรงราชานุภาพ.สมเด็จกรมพระยา. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 6 เรื่องไทยรบพม่าครั้งกรุงเก่า.สงครามครั้งที่ 24 คราวเสียกรุงครั้งหลัง. กรุงเทพฯ : อักษรนิติ์, 2460.</ref>
<div>หมายเหตุ:</div><div>'''ประเด็นเรื่องการเสียเมืองพิษณุโลก'''</div><div>เนเมียวสีบดีพร้อมกองทัพพม่า 40,000 นาย <sup><u>(เหตุการณ์ขณะนั้นอ้างถึงประชุมพงศาวดารภาคที่ 6 เรื่องไทยรบพม่าครั้งกรุงเก่า ตอน คราวเสียกรุงครั้งหลัง)</u></sup> เดินทางมาจากเชียงใหม่มาทางเมืองสวรรคโลก และเมืองสุโขทัย ซึ่งหัวเมืองเหนือพระเจ้าเอกทัศโปรดให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) รักษาหัวเมืองอยู่ (ยังคงอยู่ที่หัวเมืองพิษณุโลก) เมื่อกองทัพพม่าเริ่มตีได้เมืองสวรรคโลกเข้ามา เจ้าพระยาพิษณุโลก จึงยกทัพไปช่วยเมืองสุโขทัย ในระหว่างนี้เจ้าฟ้าจีดถือโอกาสตั้งเป็นเจ้าเมืองเสียเอง เจ้าพระยาพิษณุโลกทราบข่าวจึงกลับมาปราบเจ้าฟ้าจีดจนสำเร็จและตั้งทัพรักษาเมืองพิษณุโลกไว้ เมืองสุโขทัยต้านทัพพม่าไม่ไหวจึงเสียเมืองให้พม่าเพราะเจ้าพระยาพิษณุโลกนำทัพกลับไปหัวเมืองพิษณุโลกไปแล้ว เมืองที่พม่าตีได้คือเมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัย เมืองพิชัย เมืองพิจิตร (หลวงโกษา เจ้าเมืองพิจิตรมาช่วยราชการอยู่ที่หัวเมืองพิษณุโลกอยู่ก่อนจะเสียเมือง) หลังจากนั้นกองทัพเนเมียวสีหบดีจึงมารวมที่เมืองนครสวรรค์เคลื่อนทัพผ่านสิงบุรีห์ลงไปตั้งกองทัพอยู่ที่ วัดป่าฝ้าย ชานกรุงศรีอยุธยา <sup><u>(อ้างถึงพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา)</u></sup></div><div>
'ข้อสันนิษฐาน: หากพม่าตีเมืองพิษณุโลกได้'
 
1.1) เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ไม่อาจมีกำลังไพร่พลพอที่จะตั้งชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ได้ วิธีพม่ายกทัพเข้ามาในครั้งนี้ปรากฏในพงศาวดารพม่าที่กำหนดไว้เป็นอุบายไว้คือ "'''...ถ้าเมืองไหน หรือแม้แต่ตำบลบ้านไหนต่อสู้ พม่าตีได้แล้ว เก็บริบทรัพย์สมบัติเอาจนหมด ผู้คนก็จับเปนเชลยส่งไปเมืองพม่า แล้วให้เผาบ้านช่องเสียไม่ให้เหลือ ถ้าบ้านไหนเมืองไหนเข้าอ่อนน้อมต่อพม่าโดยดี พม่าให้กระทำสัตย์แล้ว ไม่ปล้นสดมภ์เก็บริบทรัพย์สมบัติ เปนแต่เรียกเอาเสบียงอาหารผู้คนพาหนะมาใช้สรอยการทัพตามแต่จะต้องการ...'''" เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) คงมิอาจเข้าอ่อนน้อมพม่าให้เสียเมืองแต่โดยดี
 
1.1) ทัพเนเมียวสีบดีอาจเสียกำลังพล มีกำลังไม่เพียงพอที่จะตีหัวเมืองล่างๆ เมืองพิษณุโลกอีกจำนวนมากเพราะกองทัพของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เข้มแข็งมาก
 
</div><div>(ข้อมูลพงศาวดารของไทยและของพม่าขัดแย้งกัน ไม่อาจกล่าวได้ว่าฝ่ายใดถูกต้องกว่าใคร)</div>
หลังจากเจ้าพระยาพิษณุโลกยกทัพออกไปแล้ว พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจีด กรมขุนสุรินทรสงคราม พระราชโอรสของพระองค์เจ้าชายแก้วกับเจ้าฟ้าหญิงเทพ พระราชธิดาของ[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]] (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระหรือเจ้าฟ้าเพชร) และเป็นพระราชนัดดาของ[[สมเด็จพระเพทราชา]] ขณะนั้นทรงต้องโทษอยู่ในกรุง เมื่อสถานการณ์ระส่ำระสาย เจ้าฟ้าจีดจึงตัดสินบนผู้คุมหลุดจากที่คุมขังแล้วจึงรวบรวมพรรคพวกยกกันไปเมืองพิษณุโลก เมื่อมาถึงแล้วไม่พบเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เจ้าเมือง จึงมีแผนหมายจะยึดเมืองพิษณุโลกโดยคิดหลอกให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เข้าใจผิดว่าเพื่อรักษาเมืองให้มั่นคง จึงเรียกขุนนางในเมืองสั่งความว่าตนจะเป็นเจ้าเมืองแทน ซึ่งหลวงโกษา (ยัง) ทหารเอกของเจ้าพระยาพิษณุโลกคิดเห็นชอบกับเจ้าฟ้าจีดด้วยเพราะเห็นว่าเป็นลูกหลานเจ้านาย แต่ญาติของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เห็นการณ์ ท่านผู้หญิงเชียง ภริยา และบ่าวไพร่จำนวนหนึ่งจึงรีบไปบอกความกับเจ้าพระยาพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) จึงเลิกทัพกลับมา เจ้าฟ้าจีดสั่งให้ทหารเตรียมรบป้องกันเมืองแต่ทหารกลับไม่ต่อสู้ใด ๆ เพราะทหารในเมืองต่างก็นับถือเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เมื่อทหารจับตัวเจ้าฟ้าจีดได้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) จึงว่ากล่าวติเตียนแล้วจับส่งตัวไปยังพระนคร แต่มีพม่าตั้งทัพอีกที่เมืองนครสวรรค์จึงลงไปพระนครไม่ได้ สั่งให้ทหารจับตัวเจ้าฟ้าจีดไปถ่วงน้ำที่เกยชัยบริเวณน้ำน่านและน้ำยม บรรดาพรรคพวกก็เอาไปประหารเสีย ในระหว่างที่เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) กลับมาปราบเจ้าฟ้าจีด พม่าถือโอกาสยกทัพล่วงเลยจากสุโขทัยมานครสวรรค์ลงมายังกำแพงเพชร หมายจะรุกรานกรุงต่อไป เมืองพิษณุโลกจึงมิได้เสียเมืองแก่พม่า
 
== ความเกี่ยวข้องกับชุมนุมใหญ่หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ==