ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอตากุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
การให้ความหมายที่แท้จริงโดยไม่เอนเอียง
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 4:
ผมเผ้ารุงรัง ใส่แว่น และใช้เวลาส่วนใหญ่ฝันลมๆ แล้งๆ ถึงสิ่งที่ตัวเองชอบ แล้วเป็นพวกเก็บตัวอยู่บ้าน ไม่ออกไปไหน ออกไปได้เฉพาะมีงานอะนิเมะต่างๆ]]
 
คำว่า Otaku (ออกเสียงว่า โอ-ทา-กุ) เป็นคำนาม ดัดแปลงมาจากคำว่า O-taku ซึ่งเกิดจากการนำเอาคำปัจจัย "O-" มาเติมหน้าตัวคันจิ "taku" ซึ่งแปลว่า "บ้าน" และใช้เมื่อกล่าวถึงบ้านของคู่สนทนา ในความหมายว่า "บ้านของคุณ" นอกจากนี้ยังสามารถใช้เรียกแทนตัวคู่สนทนาได้ ในความหมายของ "คุณ" อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะในความหมายของ "บ้าน" หรือ "คุณ" Otaku ก็ถือว่าเป็นคำที่ให้ความรู้สึกสุภาพและเป็นทางการอย่างมาก...
'''โอตาคุ''' ({{ญี่ปุ่น|おたく|otaku}}) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นใช้เรียกบุคคลที่สนใจในสิ่งที่ตนสนใจอย่างมากที่สุด และมีความสามารถในการเข้าสังคมไม่สูง เดิมทีนั้นความหมายว่า "บ้านของคุณ" พวกที่ดูอะนิเมะ อ่านมังงะLN เสียการงาน เกาะพ่อแม่กินและมักใช้ดูถูกทางสังคมญี่ปุ่น สังคมไทย ยังไม่รู้จักคำว่า "โอตาคุ" แบบจริงจัง มันน่ารังเกลียดแค่ไหน พวกที่ดูอะนิเมะ อ่านมังงะ อ่านLN ไม่รวมกับคำว่า"โอตาคุ" เพราะมันก็แค่พวกติดอะนิเมะ โอตาคุ ก็คือคำหยาบของประเทศญี่ปุ่น แต่กับคนไทยที่ชอบบอกตัวเองเป็นโอตาคุ กำลังด่าตัวเองอยู่
 
การนำเอาคำว่า Otaku มาใช้เรียกกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งนั้น ไม่มีแหล่งยืนยันแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่ตอนไหน แต่ควรจะเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายแล้วในช่วงต้นทศวรรษที่ 80 เนื่องจากวีดิโอที่ชื่อ "Otaku no Video"ของบริษัท GAINAX ที่ออกมาในปี 1992 ซึ่งนำเสนอเรื่องราวของพวก Otaku นั้น ยืนพื้นจากเหตุการณ์ในช่วงปี 1982-85 เฟรเดอริค ชอดต์ (Frederik L. Schodt) ได้กล่าวไว้ในหนังสือDreamland Japan : Writing on modern manga ว่า ช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 แฟนการ์ตูนและอนิเมชั่น (Animation) ได้เริ่มใช้คำว่า Otaku เรียกกันและกัน สาเหตุที่ใช้ไม่เป็นที่ชัดเจนแต่คำศัพท์นี้ก็ถูกใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมกับที่กระแสความนิยมในการ์ตูนและอนิเมชั่นได้ก่อให้เกิดการเพิ่มจำนวนของพวก มาเนีย (Mania) หรือ แฟนพันธุ์แท้ (Hardcore Fans) มากขึ้น
 
โวลเกอร์ กลาสมัค (Volker Grassmuck) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมันกล่าวว่า กลุ่มคนที่เรียกว่าOtaku มีสภาพร่างกายและจิตใจที่เปราะบาง แต่ไม่ใช่พวกอารมณ์รุนแรง เพียงขาดความมั่นใจในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นสาเหตุให้เกิดการใช้คำพูดที่สุภาพเรียบร้อยเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงการกระทำผิดอันอาจก่อให้เกิดข้อขัดแย้งกับผู้อื่น
 
ส่วนการใช้คำว่า Otaku ในสิ่งตีพิมพ์ มีขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1983 โดยนักเขียนการ์ตูนล้อเลียนชื่อ นากาโมริ อากิโอะ (Nakamori Akio) เขาเขียนคอลัมน์ที่มีชื่อว่า โอทากุ โนะ เคงคิว (Otaku no kenkyu) ลงติดต่อกันในนิตยสารการ์ตูนแนวปลุกใจเสือป่าชื่อ มังงะ บุริกโกะ (Manga Burikko)โดยกล่าวถึงกลุ่มแฟนการ์ตูนที่เรียกกันและกันว่า Otaku เค้าจึงเรียกคนพวกนี้รวม ๆ ว่า โอทากุ-โซกุ (Otaku-zoku) ซึ่งแปลว่า เผ่าพันธุ์ Otaku และต่อมาตัดเหลือเพียง Otaku เขาเขียนบรรยายถึงความประทับใจที่มีต่อเหล่าแฟนการ์ตูนที่มาร่วมงานนิทรรศการการ์ตูนว่า...
 
“เป็นกลุ่มคนที่เล่นกีฬาไม่เก่งและชอบเก็บตัวอยู่ในห้องเรียนในเวลาพักที่เราสามารถพบเห็นได้ในทุก ๆ ชั้นเรียน… รูปร่างถ้าไม่ผอมแห้งเหมือนขาดสารอาหารก็อ้วนฉุจนผิด-ส่วน… ส่วนใหญ่จะใส่แว่นตากรอบเงินหนาเตอะ… และเป็นคนประเภทที่ไม่มีใครคบหาด้วย”
 
เขาเห็นว่า คำว่า “มาเนีย" (Mania) หรือ “แฟนที่มีศรัทธาอย่างแรงกล้า” (Enthusiastic Fans)ยังไม่สามารถที่จะใช้เรียกคนกลุ่มนี้ได้อย่างครอบคลุม จึงขอเรียกด้วยคำว่า “Otaku”...!
 
แม้ว่าคอลัมน์ของนากาโมริจะถูกยกเลิกไปในเวลาไม่นาน แต่ภาพพจน์ของ Otaku ที่นากาโมริได้บรรยายเอาไว้ก็ได้กลายมาเป็น Stereotyped ของ Otaku ที่ยังคงอยู่ในสังคมและถูกใช้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการสื่อมวลชน เนื่องจากพวกเขาเริ่มสังเกตเห็นถึงการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วของเยาวชนที่หมกมุ่นอยู่กับการ์ตูนและอนิเมชั่น...
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 12 ⟶ 24:
* [http://yamato.revecess.com/?episode=18 Episode 18 of Yamato Damacy (ยามาโตะ ดามาซี ตอนที่ 18)] - ภาพยนตร์สารคดีสมัครเล่นเกี่ยวกับโอะตะกุ {{en icon}}
* ข้อเขียนเกี่ยวกับโอะตะกุ [http://smt.blogs.com/mari_diary/2005/07/what_is_otaku_.html 1].[http://smt.blogs.com/mari_diary/2006/05/otaku_fashion_h.html 2] ในบล็อก [http://smt.blogs.com/mari_diary/ Watashi to Tokyo (ฉันกับโตเกียว)] {{en icon}}
* [http://www.dek-d.com/board/view/859098/ ''โอตาคุคืออะไร'']
 
[[หมวดหมู่:ศัพท์ในการ์ตูนญี่ปุ่น|อโอะตะกุ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอตากุ"