ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ.​ 1905"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''การกบฏ พ.ศ. 2448''' หรือ '''ค.ศ. 1905 ใน[[รัสเซีย]]''' ({{lang-en|Russian Revolution of 1905}}) ในช่วงทศวรรษที่ 1800- ต้น 1900 นั้น รัสเซียอยู่ในสภาพแร้นแค้น ขาดแคลน และประชาชนไม่พอใจสภาพที่ถูกกดขี่ ฝ่ายกรรมกรก็ต้องทำงานหนักโดยได้รับค่าตอบแทนน้อยมาก ครั้นรัสเซียเข้าสู่สงครามกับญี่ปุ่น (Russo-Japanese War 1905) ก็กลับเป็นฝ่ายแพ้ การเดินขบวนเริ่มอย่างสงบ ภายใต้การนำของหลวงพ่อกาปอง (Gapon) ที่เชื่อมั่นว่าทหารจะไม่ยิงพระ เรียกร้องให้มีการนิรโทษกรรมนักโทษทางการเมือง เรียกร้องรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายลดชั่วโมงการทำงาน และแก้ไขความทุกข์ยากของราษฎร แต่ทหารกลับระดมยิงประชาชนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า "[[วันอาทิตย์นองเลือด]]" (Bloody Sunday) ประชาชนจึงเริ่มเป็นปฏิปักษ์ต่อระบบซาร์ และทำให้การจลาจลแผ่วง กว้างขึ้น พระเจ้านิโคลัสที่ 2 (Nicholas II) ต้องทรงยอมออกประกาศเดือนตุลาคม (October Manifests) ยอมให้มีการร่างรัฐธรรมนูญ เปิด[[สภาดูมา]] (Duma) และแต่งตั้งเคานท์ วิทท (Count S.Witte) เป็นนายกรัฐมนตรี ฝ่ายผู้ก่อการถูกจับหลายคน แต่ผู้นำบางคนหนีไปได้ และไปเตรียมก่อการครั้งใหม่
 
'''การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460''' ({{lang-en|Russian Revolution of 1917}}) เป็นการปฏิวัติล้มล้างระบบจักรวรรดิในรัสเซีย เปลี่ยนมาเป็นการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ กลุ่มชนกลุ่มใหญ่ออกมาเดินขบวนแสดงความไม่พอใจ ร่วมกับกรรมกร และทหารในกรุงเปโครกราด จนพระเจ้านิโคลัสที่สองต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 (ค.ศ. 1917) หลังจากนั้นก็เริ่มเป็นการแบ่งแยกทางความคิดเสรีนิยม ของฝ่ายรัฐบาลชั่วคราว กับสังคมนิยมของฝ่ายเปโตกราดโวเวียตซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่า "อำนาจคู่" (Dual Power) ซึ่งต่อมาพรรคบอลเชวิกของเลนินก็สามารถแยกตัวออก และในเดือนตุลาคมก็ก่อการจลาจลโดยมีกรรมกร ทหาร และกะลาสีเรือเข้าร่วมกันขับไล่รัฐบาลชั่วคราวออกไป จัดตั้งรัฐบาล[[โซเวียต]]ขึ้นเป็นครั้งแรก นับเป็นการปฏิวัติที่เกิดขึ้นรวดเร็วจนถือว่าเป็นรูปแบบการปฏิวัติ ที่มีชื่อเฉพาะว่าเป็นการปฏิวัติเลนิน-สตาลิน
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศประวัติศาสตร์รัสเซีย]]
 
{{Link FA|lv}}