ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 18:
 
ในประเทศไทยนอกจากภาคอีสาน และภาคเหนือ ที่มีชาวไทดำได้อพยพเข้าไปแล้ว ชาวไทดำได้อพยพเข้ามาในภาคกลางด้วย โดยคนไทยเรียกชาวไตดำว่า '''ลาวโซ่ง''' โซ่งนั้นมีการสันนิษฐานว่า น่าจะมาจากคำว่า ซ่วง หรือ ซ่ง ซึ่งเป็นภาษาไทดำแปลว่ากางเกง เพราะว่าชาวไทดำเหล่านี้สวมกางเกงสีดำ
 
 
* '''ในสมัยกรุงธนบุรี''' [[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] ครั้นพระองค์ทรงไปตีกรุงเวียงจันทน์ ในปี [[พ.ศ. 2322]] พระองค์ทรงได้กวาดต้อนชาวไตดำที่อพยพมาจากสิบสองจุไท ส่งไปตั้งถิ่นฐานที่เมือง[[เพชรบุรี]] ดังได้กล่าวไว้ในประวัติชาติไทยว่า ''"แล้วปีรุ่งขึ้นโปรด ฯ ให้ยกกองทัพไปตีเมืองหลวงพระบาง ไปตีเมืองทัน เมืองม่วย เมืองทั้ง 2 นี้เป็นเมืองของไทซ่งดำ ตั้งอยู่ในเขตแดนญวนเหนือ แล้วพาครัวลาวเวียง ไทดำ ลงมากรุงธนบุรีในเดือนยี่ ไทซ่งดำให้ไปอยู่เพชรบุรี"''
 
 
* '''ในสมัยรัชกาลที่1''' [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ปี [[พ.ศ. 2335]] ได้รวบรวมครอบครัวไทดำ ลาวพวน ลาวเวียง มายังประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง สาเหตุที่เมืองแถง เมืองพวน แข็งข้อต่อเมืองเวียงจันทน์ เจ้าเมืองเวียงจันทน์ยกกองทัพไปตีได้ ลาวโซ่ง, ลาวพวน, ลาวเวียง ลงมาถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯที่กรุงเทพฯราว4,000ครอบครัวเศษ หลังจากนั้นรัชกาลที่1ทรงโปรดเกล้าให้ชาวลาวเวียงไปอยู่ที่ [[จังหวัดสระบุรี]] ลาวพวนไปอยู่ที่[[จังหวัดสุพรรณบุรี]] และไทดำมาอยู่ที่หมู่บ้านหนองเลา หรือ หนองลาว (หนองปรง) ตำบลหนองปรง [[อำเภอเขาย้อย]] [[จังหวัดเพชรบุรี]]
 
 
* '''ในสมัยรัชกาลที่3''' [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
- [[เจ้าอนุวงศ์]]แห่งลาว[[เวียงจันทน์]] ทรงไปตีเมืองของชาวไทดำแล้วกวาดต้อนลงมายังกรุงเทพฯ แล้วทูลขอแลกชาวไทดำกับชาวลาวเวียงจันทน์ที่ถูกกวาดต้อนลงมาในสมัยกรุงธนบุรี ให้กลับขึ้นไปนครเวียงจันททน์ และทูลขอให้อาณาจักรลาวเวียงจันทน์เป็นเอกราชไม่ขึ้นตรงกับกรุงเทพฯ แต่รัชกาลที่3ทรงไม่อนุญาต เพราะหากทรงยอมก็จะมีคนกลุ่มอื่นที่ไทยกวาดต้อนมพากันกำเริบเอาอย่างบ้าง เมื่อไม่พระราชทานตามประสงค์เจ้าอนุวงศ์รู้สึกอัปยศจึงกลับขึ้นไปเวียงจันทน์ก็ตั้งต้นคิดกบฏ
 
- ปี [[พ.ศ. 2369]] - [[พ.ศ. 2371]] เจ้าอนุวงศ์ได้ก่อกบฎกับสยาม ได้ขึ้นไปปรากบฎที่[[เวียงจันทน์]] และได้นำครอบครัวชาวไทดำเข้ามาอยู่ในสยามอีก ดังบันทึกของจอมพลเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีกล่าวไว้เมื่อคราวเป็นแม่ทัพไปปราบฮ่อในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2430 ไว้ว่า ''“พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาธรรมาฯ ยกกองทัพขึ้นมาเมืองถึงเมืองแถง จัดราชการเรียบร้อยแล้วได้เอาครัวเมืองแถงและสิบสองจุไทซึ่งเป็นไทดำลงมากรุงเทพฯ เป็นอันมาก เพราะขืนไว้จะเกิดการยุ่งยากแก่ทางราชการขึ้นอีกครั้ง แล้วพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้พวกไทดำเหล่านั้น ไปตั้งภูมิลำเนาอยู่ ณ เมืองเพชรบุรี จนได้ชื่อว่าลาวซ่ง"'' จากหลักฐานการอพยพเข้ามาในไทยทั้งสองครั้ง แสดงให้เห็นว่าไทดำหรือไทยทรงดำ มาตั้งถิ่นฐานที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นแห่งแรกและจากคำบอกเล่าจากชาวไทยทรงดำเอง ก็บรรยายว่า เดินอพยพมาจากถิ่นฐานเดิมโดยทางเรือ มาตั้งถิ่นฐานที่ตำบลท่าแร้ง อำเภอบ้านแหลม ซึ่งเป็นบ้านชายทะเล ชาวไทยทรงดำไม่ชอบภูมิประเทศแถบนั้น จึงได้ย้ายถิ่นฐานมาเรื่อย ๆ จนถึงแถบอำเภอเขาย้อย ซึ่งมีภูมิประเทศเป็นป่าเขาเหมือนกับถิ่นฐานเดิมจึงได้ตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น ต่อมาชาวไทยทรงดำก็ได้ย้ายถิ่นฐานไปทำมาหากินในที่อื่นๆ เช่น นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี พิจิตร พิษณุโลก ชุมพร และสุราษฎร์ธานี แต่ชาวไทยทรงดำในจังหวัดต่าง ๆ เหล่านั้นจะบอกที่มาเป็นแหล่งเดียวกันว่า มาจากจังหวัดเพชรบุรี
 
- ปี [[พ.ศ. 2376]] - [[พ.ศ. 2378]] เกิดศึกกับเวียดนามญวน คือหัวพันห้าทั้งหก เมืองพวน เมืองเมื่อกองทัพสยามชนะจึงเทครัวชาวพวนและชาวไทดำลงมายังกรุงเทพฯ
- ปี [[พ.ศ. 2369]] - [[พ.ศ. 2371]] เจ้าอนุวงศ์ได้ก่อกบฎกับสยาม ได้ขึ้นไปปรากบฎที่เวียงจันทน์ และได้นำครอบครัวชาวไทดำเข้ามาอยู่ในสยามอีก ดังบันทึกของจอมพลเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีกล่าวไว้เมื่อคราวเป็นแม่ทัพไปปราบฮ่อในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2430 ไว้ว่า ''“พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาธรรมาฯ ยกกองทัพขึ้นมาเมืองถึงเมืองแถง จัดราชการเรียบร้อยแล้วได้เอาครัวเมืองแถงและสิบสองจุไทซึ่งเป็นไทดำลงมากรุงเทพฯ เป็นอันมาก เพราะขืนไว้จะเกิดการยุ่งยากแก่ทางราชการขึ้นอีกครั้ง แล้วพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้พวกไทดำเหล่านั้น ไปตั้งภูมิลำเนาอยู่ ณ เมืองเพชรบุรี จนได้ชื่อว่าลาวซ่ง"'' จากหลักฐานการอพยพเข้ามาในไทยทั้งสองครั้ง แสดงให้เห็นว่าไทดำหรือไทยทรงดำ มาตั้งถิ่นฐานที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นแห่งแรกและจากคำบอกเล่าจากชาวไทยทรงดำเอง ก็บรรยายว่า เดินอพยพมาจากถิ่นฐานเดิมโดยทางเรือ มาตั้งถิ่นฐานที่ตำบลท่าแร้ง อำเภอบ้านแหลม ซึ่งเป็นบ้านชายทะเล ชาวไทยทรงดำไม่ชอบภูมิประเทศแถบนั้น จึงได้ย้ายถิ่นฐานมาเรื่อย ๆ จนถึงแถบอำเภอเขาย้อย ซึ่งมีภูมิประเทศเป็นป่าเขาเหมือนกับถิ่นฐานเดิมจึงได้ตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น ต่อมาชาวไทยทรงดำก็ได้ย้ายถิ่นฐานไปทำมาหากินในที่อื่นๆ เช่น นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี พิจิตร พิษณุโลก ชุมพร และสุราษฎร์ธานี แต่ชาวไทยทรงดำในจังหวัดต่าง ๆ เหล่านั้นจะบอกที่มาเป็นแหล่งเดียวกันว่า มาจากจังหวัดเพชรบุรี
 
- ปี [[พ.ศ. 2379]] - [[พ.ศ. 2381]] จากเอกสารพงศาวดารเมือง[[หลวงพระบาง]] หลังเจ้าอนุวงศ์สวรรคต ราชวงศ์ลาวเวียงจันทน์ล่มสลาย หัวเมืองลาวหลวงพระบางจึงขึ้นตรงต่อสยาม อุปราชเมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองของชาวไทดำ แล้วกวาดต้อนชาวไทดำเป็นเครื่องบรรณาการลงมาถวายยังกรุงเทพฯ
- ปี [[พ.ศ. 2376]] - [[พ.ศ. 2378]] เกิดศึกกับเวียดนาม คือหัวพันห้าทั้งหก เมืองพวน เมืองกองทัพสยามชนะจึงเทครัวชาวพวนและชาวไทดำลงมากรุงเทพฯ
 
- ปี [[พ.ศ. 2379]] - [[พ.ศ. 2381]] จากเอกสารพงศาวดารเมืองหลวงพระบาง หลังเจ้าอนุวงศ์สวรรคตราชวงศ์ลาวเวียงจันทน์ล่มสลาย หัวเมืองลาวหลวงพระบางจึงขึ้นตรงต่อสยาม อุปราชเมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองของชาวไทดำ แล้วกวาดต้อนชาวไทดำเป็นเครื่องบรรณาการลงมาถวายยังกรุงเทพฯ
 
* '''ในสมัยรัชกาลที่5''' [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] การปราบพวกจีนฮ่อในดินแดนลาว ทรงโปรงให้เทครัวชาวไทดำลงมายังสยาม เนื่องจากเกิดกบฎฮ่อรุนรานหลายครั้ง พวกฮ่อได้เผาบ้านเมืองชาวไทดำในสิบสองจุไท เมืองแถง และหัวเมืองลาวหลายเมืองเพื่อปล้นทรัพย์ ชาวไทดำได้อพยพหนีมายังหลวงพระบางและเวียงจันทน์ ครั้งยพทัพไปปรากบฎจีนฮ่อจึงทรงโปรดให้ชาวไทดำตามลงมาสร้างบ้านเรือนในสยามได้ นับเป็นรุ่นสุดท้ายที่ชาวไทดำเทครัวลงมายังสยาม