ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ญาณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 44:
 
แต่ในพระไตรปิฎกอรรถกถาได้แยกขยาย ธัมมัฏฐิติญาณ ออกเป็น ๒ ญาณคือ นามรูปปริจเฉท และปัจจัยปริคคหญาณ โดยในอรรถกถาเรียกญาณที่ ๑ ว่า นามรูปววัตถานญาณ ในญาณที่ ๑๕ คือ วัตถุนานัตตญาณ ส่วนในคัมภีร์วิสุทธิมรรคเรียกญาณที่ ๑ ว่า นามรูปววัฏฐาน หรือสังขารปริจเฉท และให้ความหมายเหมือนกัน
กล่าวคืออัตตาตัวตนที่แท้จริงไม่มีเลย

เมื่อว่าโดยปรมัตถธรรม (ความจริงแท้) มีแต่เพียงรูปนามเท่านั้น สำหรับผู้ที่ เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน เมื่อได้ถึงญาณนี้ ก็จะเข้าใจแจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า อัตตาตัวตนเป็นเพียงสภาวธรรม ไม่ยึดมั่นว่ามีอัตตาตัวตน
ในขณะนั่งสมาธิ การกำหนดพองหนอ ยุบหนอ นิ่งหนอ หรือเบ่งหนอ ได้ตามอารมณ์ที่เกิดขึ้นเท่ากับกำหนดรู้รูปรู้นามได้ จัดว่าได้ ญาณที่ ๑ แล้ว ในการเดินจงกรม ขณะกำหนดยกหนอหรือย่างหนอที่เท้า ความรู้สึกในอาการเคลื่อนไหวของเท้าเป็นรูป(อารมณ์) จิตที่ระลึกรู้พร้อมกำหนดอาการเป็นนาม ต่อมาเมื่อกำหนดยินหนอ คลื่นเสียงที่มากระทบเป็นรูป จิตที่ระลึกรู้คลื่นเสียง โดยกำหนดว่ายินหนอ(สักแต่ว่าเสียง)เป็นนาม และในขณะนั่งสมาธิ กำหนดอาการคันได้ว่าคันหนอนั้น อาการคันจัดเป็นรูป(อารมณ์) ส่วนจิตที่ระลึกรู้พร้อมกำหนดอาการเป็นนาม ดังนั้นการกำหนดได้ถูกต้องในขณะเดินและนั่งสมาธินับว่าได้ญาณที่ ๑ แล้ว
เส้น 78 ⟶ 80:
๓. '''ปีติ''' (ความอิ่มใจ ในขณะเจริญวิปัสสนา) มี ๕ อย่าง
 
๑) '''ขุททกาปีติ''' - ปีติเล็กน้อย(มีอาการขนลุก น้ำตาไหล รู้สึกเหมือนตัวยาว แขนยาว)
๒)''' ขณิกาปี'''ติ - ปีติชั่วขณะ(มีแสง สี ดุจฟ้าแลบ เหมือนมดแมลงมาไต่ยุบยิบ ร้อนตามตัว มึนๆ หัวใจสั่นเต้น รู้สึกยุบยิบ)
๓)''' โอกกันติกาปีติ''' - ปีติเป็นพักๆ (มีอาการโยก โคลงเคลง รู้สึกคล้ายระลอกคลื่น ตัวโยก ตัวเอนคล้ายจะล้ม มีอาการสะบัดมือสะบัดแขน บางทีรู้สึกคลื่นไส้จะอาเจียน ร่างกายสั่นกระเพื่อม รู้สึกวูบวาบตามร่างกาย โอนเอนคล้ายต้นไม้ลู่ลม ผงกไปหน้าหลัง)
เส้น 98 ⟶ 100:
๑๐. '''นิกันติ''' (ความใคร่และความพอใจ ยินดี ติดใจในวิปัสสนูปกิเลส ๙ อย่างข้างต้น)
หากผู้ปฏิบัติเข้าใจผิดเพราะขาดวิปัสสนาจารย์แนะนำและคิดว่าตนเองได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน จะทำให้พลาดโอกาส ที่จะได้เข้าถึง วิปัสสนากัมมัฏฐานขั้นสูงต่อไป การปฏิบัติในขั้นนี้เป็นเครื่องทดสอบว่า ผู้ปฏิบัติเลือกเส้นทางเดิน ของวิปัสสนา ได้ถูกต้องหรือไม่ ในระดับตรุณะ โยคียังไม่สามารถกำหนดให้เห็นไตรลักษณ์ได้แจ่มแจ้ง เพราะจิตมักจะถูกวิปัสสนูปกิเลสเข้าครอบงำ และอาจเกิด '''ภัยแห่งวิปัสสนาในนิมิต ๕ ประการ''' ที่ทำให้วิปัสสนาไม่ก้าวหน้าหยุดชงักลงได้ดังนี้
 
๑. '''นิมิตภาพล้อ''' ที่เรียกว่า กายทิพย์ ปรากฏเหมือนตัวของเรา มาล้อเลียนเราในกิริยาต่างๆ เมื่อผู้ปฏิบัติจะทำอะไร มันก็ทำเหมือนเช่น เรายืนมันก็ยืน เราก้มมันก็ก้ม ดังภาพล้อเลียนเรา บางทีจะใช้ให้ไปทำอะไรที่ไหนก็ได้ตามความนึกคิด
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ญาณ"