ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ญาณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 70:
ในระดับ(ตรุณะ) โยคีกำหนดรู้สภาวะต่างๆ ของรูปนาม แล้วเห็นชัดว่าสภาวะดับหายไปเร็วขึ้นกว่าเดิม แม้แต่เวทนาที่เกิดขึ้น เมื่อกำหนดก็หายไปเร็วขึ้น ผู้ปฏิบัติมักจะเห็นสภาวะที่แปลกๆ มีภาพปรากฏให้เห็นมีแสงสว่างเข้ามาปรากฏอยู่บ่อยๆ (โอภาส) เนื่องจากโยคีไม่เคยเห็นแสงสว่างเช่นนี้มาก่อน ก็อาจจะสนใจดูหรืออาจเข้าใจผิดว่าได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน ก็เป็นได้
 
'''สภาวะที่ปรากฏในญาณนี้ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐''' ดังนี้
๑. '''โอภาส''' (เกิด แสงสว่าง สีต่างๆ)
๒. '''ญาณ''' (ปัญญา หรือได้วิปัสสนาญาณ)
 
๓. '''ปีติ''' (ความอิ่มใจ ในขณะเจริญวิปัสสนา) มี ๕ อย่าง
 
๑) '''ขุททกาปีติ''' - ปีติเล็กน้อย(มีอาการขนลุก น้ำตาไหล รู้สึกเหมือนตัวยาว แขนยาว)
๒)''' ขณิกาปี'''ติ - ปีติชั่วขณะ(มีแสง สี ดุจฟ้าแลบ เหมือนมดแมลงมาไต่ยุบยิบ ร้อนตามตัว มึนๆ หัวใจสั่นเต้น รู้สึกยุบยิบ)
เส้น 79 ⟶ 83:
๔)''' อุพเพงคาปีติ''' - ปีติอย่างโลดโผน(มีความรู้สึกตัวลอย เบา คล้ายตัวพองโตใหญ่ โลดลอยอย่างแรง ตัวเหมือนสูงใหญ่ขึ้น ขณะนั่งบางทีลุกกระโดดขึ้นยืนทันที ตัวขยับสั่นไปมารุนแรง)
๕)''' ผรณาปีติ''' - ปีติซาบซ่าน(มีอาการซาบซ่าน เย็นไปทั่วตัว ซู่ซ่าทั้งตัว)
 
๔. '''ปัสสัทธิ''' (ความสงบกายและใจ)
 
๕.''' สุข''' (ความสุขอันละเอียดสุขุม)
 
๖. '''อธิโมกข์''' (ความน้อมใจเชื่อ และศรัทธามีกำลังแก่กล้า)
๗.''' ปัคคหะ''' (การประคองไว้ และความเพียรวิริยะ)
๘.''' อุปัฏฐานะ''' (การเข้าไปตั้งไว้ และสติที่ยอดยิ่งว่องไว)
๗.''' ปัคคหะ''' (การประคองไว้ และความเพียรวิริยะ)
๘.''' อุปัฏฐานะ''' (การเข้าไปตั้งไว้ และสติที่ยอดยิ่งว่องไว)
๙. '''อุเบกข'''า (การวางเฉย)
 
๑๐. '''นิกันติ''' (ความใคร่และความพอใจ ยินดี ติดใจในวิปัสสนูปกิเลส ๙ อย่างข้างต้น)
หากผู้ปฏิบัติเข้าใจผิดเพราะขาดวิปัสสนาจารย์แนะนำและคิดว่าตนเองได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน จะทำให้พลาดโอกาส ที่จะได้เข้าถึง วิปัสสนากัมมัฏฐานขั้นสูงต่อไป การปฏิบัติในขั้นนี้เป็นเครื่องทดสอบว่า ผู้ปฏิบัติเลือกเส้นทางเดิน ของวิปัสสนาได้ถูกต้องหรือไม่ ในระดับตรุณะ โยคียังไม่สามารถกำหนดให้เห็นไตรลักษณ์ได้แจ่มแจ้ง เพราะจิตมักจะถูกวิปัสสนูปกิเลสเข้าครอบงำ และอาจเกิด '''ภัยแห่งวิปัสสนาในนิมิต ๕ ประการ''' ที่ทำให้วิปัสสนาไม่ก้าวหน้าหยุดชงักลงได้ดังนี้
 
๑. '''นิมิตภาพล้อ''' ที่เรียกว่า กายทิพย์ ปรากฏเหมือนตัวของเรา มาล้อเลียนเราในกิริยาต่างๆ เมื่อผู้ปฏิบัติจะทำอะไร มันก็ทำเหมือนเช่น เรายืนมันก็ยืน เราก้มมันก็ก้ม ดังภาพล้อเลียนเรา บางทีจะใช้ให้ไปทำอะไรที่ไหนก็ได้ตามความนึกคิด
๒. '''นิมิตภาพหลอน''' ปรากฏด้วยความประณีตของจิตที่สวยงาม ที่ชวนให้หลงติดดูด้วยความชอบใจเช่น โบสถ์สวยงาม พระพุทธรูปทองคำ สวนดอกไม้งดงาม หรือวิมานของเทวดา
 
๓. '''นิมิตภาพหลอก''' ทำให้ผู้ปฏิบัติตกใจกลัวสะดุ้งเช่น เห็นนิมิตสัตว์ ผี หรือซากศพ
 
๔. '''นิมิตภาพลวง''' หรือปฏิภาคนิมิต คือนึกถึงพระพุทธเจ้าก็จะปรากฏพระพุทธเจ้า, นึกให้ใหญ่ หรือเล็กก็จะใหญ่ หรือเล็กตามใจนึก, หรือนึกถึงนรกหรือสวรรค์ ก็จะปรากฏให้เห็น
๕. '''นิมิตภาพล้าง''' เป็นนิมิตที่มาทำลายล้างผลาญการปฏิบัติเช่น เปรตมาขอส่วนบุญ หรือ เทวดามิจฉาทิฏฐิมาหลอกหลอน ด้วยหน้าตาน่าเกลียดน่าสพึงกลัว นิมิตเหล่านี้ทำให้หายไปได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือการแผ่เมตตาอุทิศส่วนกุศล และการเจริญวิปัสสนา มีสติปัญญากำหนดรูปนาม ได้ทันปัจจุบันอารมณ์ โดยปล่อยวางไม่ยึดติดในนิมิต ซึ่งทำให้ภาพนิมิตทุกอย่างดับหายไปได้
เมื่อโยคีได้กัลยาณมิตรก็จะสามารถฟันฝ่าเอาชนะวิปัสสนูปกิเลส และข้ามพ้นนิมิตต่างๆ ทำให้การปฏิบัติดำเนินต่อไป ครั้นปฏิบัติมาถึง ญาณระดับอุทยัพพยญาณอย่างแก่(พลวะ) โยคีจึงจะสามารถกำหนดรูปนามและเห็นไตรลักษณ์ได้ชัดขึ้นตามความเป็นจริง
๕. '''นิมิตภาพล้าง''' เป็นนิมิตที่มาทำลายล้างผลาญการปฏิบัติเช่น เปรตมาขอส่วนบุญ หรือ เทวดามิจฉาทิฏฐิมาหลอกหลอน ด้วยหน้าตาน่าเกลียดน่าสพึงกลัว
ครั้นถึงพลวอุทยัพพยญาณ สติปัฏฐานเริ่มมีพละกำลัง และเป็นปัจจัยทำให้ โพชฌงค์ ๗ (ปีติ ปัสสัทธิ วีริยะ สติ สมาธิ ปัญญา และอุเบกขา)เริ่มเกิดขึ้น ซึ่งการเกิดขึ้นขององค์ธรรมในโพชฌงค์ทั้ง ๗ ยังไม่เท่าหรือเสมอกันในญาณนี้ หากปฏิบัติได้ผลต่อไปโพชฌงค์ ๗ จะค่อยๆ บริบูรณ์เสมอกันเอง
 
๕. '''นิมิตภาพล้าง''' เป็นนิมิตที่มาทำลายล้างผลาญการปฏิบัติเช่น เปรตมาขอส่วนบุญ หรือ เทวดามิจฉาทิฏฐิมาหลอกหลอน ด้วยหน้าตาน่าเกลียดน่าสพึงกลัว นิมิตเหล่านี้ทำให้หายไปได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือการแผ่เมตตาอุทิศส่วนกุศล และการเจริญวิปัสสนา มีสติปัญญากำหนดรูปนาม ได้ทันปัจจุบันอารมณ์ โดยปล่อยวางไม่ยึดติดในนิมิต ซึ่งทำให้ภาพนิมิตทุกอย่างดับหายไปได้
เมื่อโยคีได้กัลยาณมิตร ก็จะสามารถฟันฝ่าเอาชนะวิปัสสนูปกิเลส และข้ามพ้นนิมิตต่างๆ ทำให้การปฏิบัติดำเนินต่อไป ครั้นปฏิบัติมาถึง ญาณระดับอุทยัพพยญาณอย่างแก่(พลวะ) โยคีจึงจะสามารถกำหนดรูปนามและเห็นไตรลักษณ์ได้ชัดขึ้นตามความเป็นจริง
 
ครั้นปฏิบัติมาถึง ญาณระดับอุทยัพพยญาณอย่างแก่(พลวะ) โยคีจึงจะสามารถกำหนดรูปนาม และเห็นไตรลักษณ์ได้ชัดขึ้น ตามความเป็นจริง ครั้นถึงพลวอุทยัพพยญาณ สติปัฏฐานเริ่มมีพละกำลัง และเป็นปัจจัยทำให้ โพชฌงค์ ๗ (ปีติ ปัสสัทธิ วีริยะ สติ สมาธิ ปัญญา และอุเบกขา)เริ่มเกิดขึ้น ซึ่งการเกิดขึ้นขององค์ธรรมในโพชฌงค์ทั้ง ๗ ยังไม่เท่าหรือเสมอกันในญาณนี้ หากปฏิบัติได้ผลต่อไปโพชฌงค์ ๗ จะค่อยๆ บริบูรณ์เสมอกันเอง
 
การกำหนดในญาณนี้จะเริ่มคล่องขึ้น และทันอารมณ์ขึ้นกว่าก่อน โดยจะเห็นอารมณ์ที่มีการเกิดและดับไป แต่ยังช้าอยู่ ซึ่งอารมณ์ที่กำหนดได้จะไม่ตั้งอยู่นานเหมือนแต่ก่อน จิตที่รับอารมณ์เริ่มทำงานอย่างเป็นธรรมชาติ อีกทั้งอารมณ์ปรมัตถ์ และความเป็นอนัตตาเริ่มปรากฏหรือแสดงให้เห็น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ญาณ"