ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kurino01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
 
; 4. กฎหมายบัญญัติขึ้นเพื่อให้บุคคลปฏิบัติตาม
แม้การปฏิบัติบางครั้งอาจจะเกิดจากความไม่เต็มใจที่จะปฏิบัติ แต่หากเป็นคำสั่ง คำบัญชาแล้ว ผู้รับคำสั่ง คำบัญชา ต้องปฏิบัติตาม หากขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดสภาพบังคับของกฎหมาย อันเป็น
ผลร้ายต่อผู้ฝ่าฝืนคำสั่งนั้น และเป็นที่พึงเข้าใจด้วยว่าผู้ที่อยู่ในฐานะที่จะรับคำสั่งและปฏิบัติตามกฎหมายได้นั้นต้องเป็นบุคคลตามกฎหมาย
บรรทัด 31:
# ส่วนที่บัญญัติถึงความผิด หมายความว่าได้บัญญัติถึงการกระทำ และการงดเว้นกระทำการอย่างใดเป็นความผิดอาญา
# ส่วนที่บัญญัติถึงโทษ หมายความว่าบทบัญญัตินั้น ๆ นอกจากจะได้ระบุว่าการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใดเป็นความผิดแล้ว ต้องกำหนดโทษอาญาสำหรับความผิดนั้น ๆ ไว้ด้วย
'''ตัวอย่าง'''
* ประมวลกฎหมายอาญา''' '''มาตรา''' '''288''' '''บัญญัติว่า'''
“ผู้ใดฆ่าผู้อื่นต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต จำคุกตั้งแต่สิบห้าถึงยี่สิบปี”
 
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 บัญญัติว่า “ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลายทำให้เสื่อมค่าหรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”
* ประมวลกฎหมายอาญา''' '''มาตรา''' '''358''' '''บัญญัติว่า'''
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 บัญญัติว่า “ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลายทำให้เสื่อมค่าหรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”
ฉะนั้น กฎหมายอาญาจึงต้องประกอบไปด้วยส่วนที่บัญญัติถึงความผิด และส่วนที่บัญญัติถึงโทษด้วย ส่วนโทษอาญาที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่
* ประหารชีวิต
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กฎหมาย"