ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{บทความดีแทค}}
[[ไฟล์:Jupitermoon.jpg|thumb|200px|ภาพตัดต่อแสดงให้เห็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวง เปรียบเทียบให้เห็นขนาดของดวงจันทร์กับขนาดของ[[ดาวพฤหัสบดี]] จากบนลงล่าง: [[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ไอโอ]] [[ยูโรปา (ดาวบริวาร)|ยูโรปา]] [[แกนีมีด (ดาวบริวาร)|แกนิมีด]] [[คัลลิสโต]]]]
[[ไฟล์:Jupitermoon.jpg|thumb|200px|Montage of [[Jupiter]]'s four Galilean moons, in a composite image comparing their sizes and the size of Jupiter. From top to bottom: [[Io (moon)|Io]], [[Europa (moon)|Europa]], [[Ganymede (moon)|Ganymede]], [[Callisto (moon)|Callisto]].]]
 
'''ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ''' ({{lang-en|Galilean moons}}) คือ [[ดาวบริวาร|ดวงจันทร์บริวาร]]ทั้ง 4 ดวงของ[[ดาวพฤหัสบดี]]ซึ่งถูกค้นพบโดย [[กาลิเลโอ กาลิเลอี]] ในราวเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1610 ดวงจันทร์ทั้ง 4 ดวงเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดา[[ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี]] ชื่อของดวงจันทร์ทั้ง 4 ได้รับการตั้งชื่อคนรักของ [[ซูส]] ได้แก่ ''[[Io (mythology)|ไอโอ (Io)]]'' ''[[ยูโรปา|ยูโรปา (Europa)]]'' ''[[แกนีมีด (เทพปกรณัม)|แกนิมิด (Ganymede)]] ''และ [[Callisto (mythology)|''คาลลิสโต (Callisto)'']] ดวงจันทร์ทั้ง 4 เป็น[[List of moons by diameter|วัตถุที่มีมวลมากที่สุด]]ใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจาก[[ดวงอาทิตย์]]และดาวเคราะห์ทั้งแปดดวง มันมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่กว่า[[ดาวเคราะห์แคระ]]ใดๆ ดวงจันทร์สามดวงด้านใน ได้แก่ ไอโอ ยูโรปา แกนิมิด มี[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]ที่ 1:2:4
บรรทัด 11:
 
=== การค้นพบ ===
[[ไฟล์:Galileo.arp.300pix.jpg|thumb|left|upright|[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]], the discoverer of the four Galilean moonsผู้คนพบดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวง]]
ผลจากการปรับปรุง[[กล้องโทรทรรศน์]]โดยกาลิเลโอ ([[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]) โดยการเพิ่มกำลังขยายขึ้นเป็น 20 เท่า<ref>{{Cite journal|first=Albert|last=Van Helden|title=The Telescope in the Seventeenth Century|journal=Isis|volume=65|issue=1|date=March 1974|pages=38–58|publisher=The University of Chicago Press on behalf of The History of Science Society|jstor=228880|doi=10.1086/351216}}</ref> เขาสามารถมองเห็นเทหฟากฟ้าได้ชัดเจนกว่าที่เคยเห็นโดยกล้องโทรทรรศน์เดิม ทำให้กาลิเลโอค้นพบดาวจันทร์ของกาลิเลโอได้ในช่วงราวเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1609 ถึง เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1610<ref name=Galileo89>Galilei, Galileo, ''Sidereus Nuncius''. Translated and prefaced by Albert Van Helden. Chicago & London: University of Chicago Press 1989, 14–16</ref><ref>{{Cite book|title=The Starry Messenger|last=Galilei|first=Galileo|year=1610|location=Venice|url=http://www.bard.edu/admission/forms/pdfs/galileo.pdf|quote=On the seventh day of January in this present year 1610....|isbn=0-374-37191-1}}</ref>