ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นทางสายไหม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
}}
 
'''เส้นทางสายไหม''' ({{lang-en|Silk Road หรือ Silk Route}}) เป็นชุดเส้นทางการส่งการค้าและวัฒนธรรมซึ่งเป็นศูนย์กลางของอันตรกิริยาทางวัฒนธรรมผ่านภูมิภาคของทวีปเอเชียที่เชื่อมตะวันตกและตะวันออกโดยการโยงพ่อค้าวาณิช ผู้แสวงบุญ นักบวช ทหาร ชนเร่ร่อนและผู้อาศัยในเมืองจากจีนและอินเดียไปยังทะเลเมดิเตอร์เรเนียนระหว่างเวลาหลายสมัย<ref>{{Cite book| last=Elisseeff|first=Vadime|authorlink =|title=The Silk Roads: Highways of Culture and Commerce|publisher=UNESCO Publishing / Berghahn Books|year=2001|isbn=978-92-3-103652-1 }}</ref>
 
เส้นทางสายไหมมีความยาว 6,437 กิโลเมตร (4,000 ไมล์) ได้ชื่อมาจากการค้าผ้าไหมจีนที่มีกำไรมากตลอดเส้นทาง เริ่มตั้งแต่[[ราชวงศ์ฮั่น]] (206 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220) ราชวงศ์ฮั่นขยายเส้นทางการค้าส่วนเอเชียกลางราว 114 ปีก่อน ค.ศ. ส่วนใหญ่ผ่านคณะทูตและการสำรวจของผู้แทนทางการทูตจักรวรรดิจีน จางเชียน (Zhang Qian)<ref name="boulnois">{{Cite book|first=Luce|last=Boulnois|year=2005|title=Silk Road: Monks, Warriors & Merchants|publisher=Odyssey Books|location=Hong Kong|page=66|isbn=962-217-721-2}}</ref> ชาวจีนสนใจมากกับความปลอดภัยของผลิตถัณฑ์การค้าของพวกตนและขยาย[[กำแพงเมืองจีน]]เพื่อประกันการคุ้มครองเส้นทางการค้านี้<ref>Xinru, Liu, ''The Silk Road in World History'' (New York: Oxford University Press, 2010), 11.</ref>
 
การค้าบนเส้นทางสายไหมเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาของอารยธรรมจีน [[อนุทวีปอินเดีย]] เปอร์เซีย ทวีปยุโรปและ[[คาบสมุทรอาหรับ]] โดยเปิดอันตรกิริยาทางการเมืองและเศรษฐกิจทางไกลระหว่างอารยธรรม<ref>Jerry Bentley, Old World Encounters: Cross-Cultural Contacts and Exchanges in Pre-Modern Times (New York: Oxford University Press, 1993), 32.</ref> แม้ผ้าไหมเป็นสินค้าหลักจากจีนแน่นอน แต่ก็มีการค้าสินค้าอื่นจำนวนมาก และศาสนา ปรัชญาหลายความเชื่อและเทคโนโลยีต่าง ๆ จนถึงโรคก็ไปมาตามเส้นทางสายไหมเช่นกัน นอกเหนือจากการค้าทางเศรษฐกิจแล้ว เส้นทางสายไหมยังใช้เป็นการค้าทางวัฒนธรรมในบรรดาอารยธรรมตามเครือข่ายเส้นทางด้วย<ref>Jerry Bentley, Old World Encounters: Cross-Cultural Contacts and Exchanges in Pre-Modern Times (New York: Oxford University Press, 1993), 33.</ref>
 
ผู้ค้าหลักระหว่างยุคโบราณ คือ ชาวจีน เปอร์เซีย กรีก ซีเรีย โรมัน อาร์มีเนีย อินเดียและแบกเตรีย (Bactrian) และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 เป็นชาวซอกเดีย (Sogdian) ระหว่างการเจริญของศาสนาอิสลาม พ่อค้าอาหรับกลายมาโดดเด่น
บรรทัด 34:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
 
== แหล่งข้อมูล ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Baines, John and Málek, Jaromir (1984) : ''Atlas of Ancient Egypt''. Oxford, Time Life Books.
* Boulnois, Luce. 2004. '''''Silk Road:''' Monks, Warriors & Merchants on the Silk Road''. Translated by Helen Loveday with additional material by Bradley Mayhew and Angela Sheng. Airphoto International. ISBN 962-217-720-4 hardback, ISBN 962-217-721-2 softback.
เส้น 72 ⟶ 75:
| title = Cathay and the way thither: being a collection of medieval notices of China. Issue 37 of Works issued by the Hakluyt Society
| url = http://books.google.com/books?id=KzEMAAAAIAAJ}}
{{จบอ้างอิง}}
</div>
 
== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
* Bulliet, Richard W. 1975. ''The Camel and the Wheel''. Harvard University Press. ISBN 0-674-09130-2.
* Choisnel, Emmanuel : ''Les Parthes et la route de la soie'' ; Paris [u.a.], L' Harmattan [u.a.], 2005, ISBN 2-7475-7037-1
เส้น 93 ⟶ 95:
* Thubron, C., ''The Silk Road to China'' (Hamlyn, 1989)
* Lawrenson, Brian, ''Following Marco 'Polo's Silk Road''. Second Edition. Marco Polo Press 2010. ISBN 978-1-4392-4942-0 paperback 344 pages. [http://www.marcopolopress.com].
</div>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 113 ⟶ 114:
 
{{เส้นทางการค้า}}
 
 
[[หมวดหมู่:การค้าระหว่างประเทศ]]