ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิเวศวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tchaianunporn (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการใช้คำในย่อหน้าที่สองให้ถูกต้อง
Tchaianunporn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
'''นิเวศวิทยา''' ({{lang-en|ecology}}) (มาจากภาษากรีก: οἶκος "บ้าน"; -λογία, "การศึกษาของ" {{Cref2|A}}) คือ การวิเคราะห์และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีต่อกันและกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ({{lang-en|abiotic}}) ของสิ่งมีชีวิตนั้น หัวข้อนักนิเวศวิทยาสนใจจะรวมถึงความหลากหลายทางนิเวศวิทยา การกระจาย ปริมาณ ([[ชีวมวล]]) จำนวน (ประชากร) ของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับการแข่งขันระหว่างพวกมันภายในและระหว่างระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะเป็นไดนามิค ซึ่งประกอบไปด้วย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ ชุมชนของสิ่งมีชีวิตที่พวกมันสร้างขึ้น และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการในระบบนิเวศ ({{lang-en|ecosystem process}}) เช่น การผลิตโดยผู้ผลิต (เช่น พืช สาหร่าย) การเกิดขึ้นของดิน ({{lang-en|pedogenesis}}) วัฏจักรสารอาหาร และกิจกรรมการสร้างสภาวะที่เหมาะสม ({{lang-en|niche construction}}) จะเป็นตัวกำหนดการไหลของพลังงานและสสารจากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งในระบบนิเวศ กระบวนการเหล่านี้จะทำงานอย่างเป็นปกติโดยสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้น โดยความหลากหลายทางชีวภาพ ({{lang-en|biodiversity}}) ที่หมายถึงความหลากหลายของสายพันธุ์ ของยีน และของระบบนิเวศ จะช่วยเพิ่มการบริการในระบบนิเวศ ({{lang-en|ecosystem services}})
 
นิเวศวิทยาเป็นสาขาการศึกษาแบบสหวิทยาการที่รวมชีววิทยาและวิทยาศาสตร์โลก โดยคำว่า "ระบบนิเวศ" ("Ökologie") เกิดขึ้นในปี 1866 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน แอรนส์ แฮกเกล ({{lang-en|Ernst Haeckel}}) (1834-1919) ความคิดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากความคิดในเชิงปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจริยธรรมและการเมือง<ref name="LaferrièreStoett2003">{{cite book|author1=Eric Laferrière|author2=Peter J. Stoett|title=International Relations Theory and Ecological Thought: Towards a Synthesis|url=http://books.google.com/books?id=HWtncHw7ErIC&pg=PA25|date=2 September 2003|publisher=Routledge|isbn=978-1-134-71068-3|pages=25–}}</ref> นักปรัชญากรีกโบราณเช่น Hippocrates และ อริสโตเติล ได้วางรากฐานของนิเวศวิทยาในการศึกษาเรื่อง 'ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ' ({{lang-en|natural history}}) ของพวกเขา นิเวศวิทยาสมัยใหม่ถูกแปลงให้เป็น'วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ'ที่เข้มงวดมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดวิวัฒนาการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตและ 'การคัดเลือกโดยธรรมชาติ' กลายเป็นเสาหลักของ 'ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาสมัยใหม่' คำว่านิเวศวิทยาไม่ได้มีความหมายเหมือนกับสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อม ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หรือวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม แต่นิเวศวิทยาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ 'ชีววิทยาวิวัฒนาการ' พันธุศาสตร์ และ พฤฒิกรรมของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ ({{lang-en|ethology}}) ความเข้าใจถึงกระบวนการที่ความหลากหลายทางชีวภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนิเวศเป็นหัวข้อที่สำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ โดยนักนิเวศวิทยาพยายามที่จะอธิบายดังต่อไปนี้:
 
* กระบวนการของชีวิต การปฏิสัมพันธ์และการปรับตัว