ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซีเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 154:
ส่วนคำว่า "ไรช์ที่สาม" นั้น พวกนาซีรับมา ใช้ครั้งแรกในนวนิยายเมื่อปี 1923 โดยอาร์ทูร์ เมิลเลอร์ ฟัน เดน บรุค<ref name="TR-N-01">{{cite book|last=|first=|url=http://www.amazon.com/Man-Who-Invented-Third-Reich/dp/0750918667|authorlink=Stan Lauryssens|title=The man who invented the Third Reich: the life and times of Arthur Moeller van den Bruck|year=May 1, 1999|publisher=Npi Media Ltd|location=|isbn=978-0-75-091866-4|pages=}}</ref> ซึ่งนับ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในสมัยกลาง (962–1806) เป็นไรช์ที่หนึ่ง และ[[จักรวรรดิเยอรมัน]] (ค.ศ. 1871–1918) เป็นไรช์ที่สอง ปัจจุบันชาวเยอรมันเรียกสมัยนี้ว่า ไซท์เดสนาซิโยนนัลโซซีอัลอิสมุส หรือย่อเป็น เอ็นเอส-ไซท์ ("สมัยชาติสังคมนิยม") หรือ นาซิโยนนัลโซซีอัลอิสทิสเชอ เกวัลแทร์ชัฟท์ ("ทรราชชาติสังคมนิยม")
 
== ภูมิศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==
เยอรมนีตั้งอยู่ในเขตที่ราบต่ำตอนกลางทวีปยุโรป<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 293.</ref> มีลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนอยู่สามแห่ง: เขตที่ราบต่ำตอนเหนือ เขตภูเขาตอนกลาง และเขตที่ราบสูงและลุ่มแม่น้ำทางใต้ ดินทางตอนเหนือนั้นมีคุณค่าทางเศรษฐกิจมาก และมีป่าสนกินอาณาเขตกว้างขวางตามตีนเขาของเทือกเขาที่ลากผ่านตอนกลางของประเทศ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 118-119.</ref>
 
ด้านการคมนาคม ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เยอรมนีมีทางน้ำในประเทศความยาวรวมกว่า 7,000 ไมล์ ซึ่งในจำนวนนี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจถึง 4,830 ไมล์<ref name="Geo122">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 122.</ref> มีเมืองท่าที่สำคัญ คือ ดืสบูร์ก-รูรอร์ท [[ฮัมบูร์ก]] และเบอร์ลิน<ref name="Geo122"/> เช่นเดียวกับ[[คลองคีล]] ซึ่งมีสินค้าผ่านคลองกว่า 9.4 ล้านตันต่อปี ในปี 1936<ref name="Geo123">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 123.</ref> นอกจากนั้น เยอรมนียังมีทางรถไฟยาวกว่า 43,000 ไมล์<ref name="Geo123"/>; ในปี 1937 เยอรมนีมีระบบถนนยาว 134,000 ไมล์ และทางหลวงขนาดใหญ่ (เอาโตบาเนน) ยาว 3,150 ไมล์ ในปี 1939<ref name="Geo125">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 125.</ref>
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์เยอรมนี}}
 
[[เกษตรกรรม]]ในประเทศประสบความสำเร็จอย่างมาก และสามารถปลูกพืชได้หลายชนิด ในปี 1936 ราว 61% ของพื้นที่ทั้งประเทศเป็นพื้นที่เพาะปลูก<ref name="Geo126">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126.</ref> โดยพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ [[ข้าวไรย์]] มันฝรั่ง ชูการ์บีต และไม้องุ่น<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126-127.</ref> มีทรัพยากรแร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ [[ถ่านหิน]] ปิโตรเลียม<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 130.</ref> ทองแดง สังกะสี และดีเกลือ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 132-133.</ref>
 
=== การเปลี่ยนแปลงดินแดนก่อนสงคราม ===
ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้เยอรมนีเสียดินแดนไปกว่า 13% และ[[จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน|อาณานิคม]]ทั้งหมด รวมทั้งเสียเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอ เหมือง[[โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์|พอทแทช]] และแหล่งแร่เหล็กที่สำคัญ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 292.</ref> การเปลี่ยนแปลงดินแดนทำให้เยอรมนีมีพรมแดนทางเหนือติดต่อกับ[[เดนมาร์ก]] [[ทะเลเหนือ]] และ[[ทะเลบอลติก]] ทางทิศตะวันตกติดต่อกับ[[ฝรั่งเศส]] [[เบลเยี่ยม]] [[ลักเซมเบิร์ก]] [[เนเธอร์แลนด์]] [[ไรน์แลนด์]] และ[[รัฐซาร์ลันด์ (สันนิบาติชาติ)|ซาร์ลันด์]] ทางทิศตะวันออก เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน โดยติดต่อกับ[[โปแลนด์]] [[ลิทัวเนีย]] [[นครเสรีดันซิก]] และ[[เชโกสโลวาเกีย]] ส่วนทางทิศใต้มี[[ออสเตรีย]] และ[[สวิตเซอร์แลนด์]] แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่านได้แก่ แม่น้ำไรน์ [[แม่น้ำดานูบ]] และ[[แม่น้ำเอลเบอ]]
 
ต่อมา เยอรมนีเข้าควบคุมซาร์ลันด์ เปลี่ยนตนเองเป็น "มหาเยอรมนี" (Greater Germany) โดยการผนวก[[ออสเตรีย]]ใน[[อันชลุสส์]] และเข้าควบคุมซูเดเทนลันด์ของ[[เชโกสโลวาเกีย]] [[โบฮีเมียและโมราเวีย]]ส่วนที่เหลือ และ[[ดินแดนเมเมล]] (ภูมิภาคไคลเพดา) ของลิทัวเนียก่อนสงคราม
 
=== การขยายอาณาเขตยามสงคราม ===
{{บทความหลัก|ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง}}
 
ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่สอง พื้นที่ซึ่งมีพลเมืองชาวเยอรมันอาศัยอยู่ อย่างเช่น [[ออสเตรีย]] [[ซูเทเดนแลนด์]], ดินแดนมาเมล รวมทั้งดินแดนซึ่งผนวกรวมภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ ได้แก่ ออยเปน-เอท-มัลเมอดี, อัลซาซ-ลอร์เรน, ดันซิก และดินแดนของ[[สาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง|โปแลนด์]] นอกจากนั้น ระหว่างปี 1939-1945 [[สาธารณรัฐเช็ก|แคว้นโบฮีเมียและโบราเวีย]] ถูกปกครองในฐานะ[[รัฐในอารักขาแคว้นโบฮีเมียและโบราเวีย|รัฐในอารักขาของเยอรมนี]]<ref>Hugh LeCaine Agnew. [http://books.google.com/books?id=PW_Oo2PQwocC&pg=PA215&dq=bohemia+and+moravia&as_brr=1&cd=2#v=onepage&q=protectorate&f=false The Czechs and the lands of the Bohemian crown]. Hoover Institutition Press. p.208</ref> ซึ่งเยอรมนีมีอำนาจควบคุมและบริหารประเทศ แต่ยังอนุญาตให้มีเงินตราของตัวเอง [[เช็กไซลีเซีย]]รวมเข้ากับ[[จังหวัดไซลีเซีย]]ในช่วงเวลาเดียวกัน ในปี 1942 [[ลักเซมเบิร์ก]]ถูกผนวกรวมกับเยอรมนีโดยตรง<ref>Raphael Lemkin, Samantha Power. [http://books.google.com/books?id=ChhmqYeVS80C&pg=PA193&dq=luxembourg+occupied&lr=&as_brr=3&cd=1#v=onepage&q=luxembourg%20occupied&f=false Axis rule in occupied Europe: laws of occupation, analysis of government]. Rumford Press, Concord N.M. p. 193</ref> โปแลนด์ตอนกลางและแคว้นกาลิเซียถูกปกครองโดย[[เจอเนอรัลโกอูเวอร์เนเมนท์]] ({{lang-de|Generalgouvernement}}) ที่เยอรมนีบริหาร<ref>Raphael Lemkin, Samantha Power. [http://books.google.com/books?id=ChhmqYeVS80C&pg=PA193&dq=luxembourg+occupied&lr=&as_brr=3&cd=1#v=onepage&q=luxembourg%20occupied&f=false Axis rule in occupied Europe: laws of occupation, analysis of government]. Rumford Press, Concord N.M. p. 225-226.</ref> ท้ายสุด ชาวโปแลนด์จะถูกอพยพ และจัดให้ชาวเยอรมันห้าล้านคนเข้าไปอาศัยอยู่แทน ปลายปี 1943 นาซีเยอรมนีพิชิต[[เซาธ์ไทรอล]] และ[[อิสเตรีย]] ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] ก่อนปี 1919 และยึด[[ตรีเอสเต]]หลังรัฐบาลฟาสซิสต์อิตาลี (ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรฝ่ายอักษะ) ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร เขตการปกครองหุ่นเชิดสองเขตถูกจัดตั้งขึ้นแทนที่
 
=== การเปลี่ยนแปลงหลังสงคราม ===
[[ไฟล์:Germanborders.svg|thumb|300px|ดินแดนที่เยอรมนีสูญเสียไปหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง]]
พรมแดนโดยพฤตินัยของนาซีเยอรมนีเปลี่ยนแปลงมานานก่อนการล่มสลายในเดือนพฤษภาคม 1945 เพราะกองทัพแดงคืบหน้ามาทางตะวันตก พร้อมกับที่ประชากรเยอรมันหลบหนีมายังแผ่นดินเยอรมนี และสัมพันธมิตรตะวันตกรุกคืบมาทางตะวันออกจากฝรั่งเศส เมื่อสงครามยุติ มีเพียงผืนดินเล็ก ๆ จากออสเตรียถึงโบฮีเมียและโมราเวีย และภูมิภาคที่ถูกโดดเดี่ยวอื่น ๆ เท่านั้นที่ยังไม่ถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครอง ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาสถาปนาเขตยึดครอง ดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซ (อันประกอบด้วย [[ปรัสเซียตะวันออก]] [[ไซลีเซีย]] [[ปรัสเซียตะวันตก]] ราวสองในสามของ[[แคว้นโพเมอราเนีย]] และบางส่วนของ[[บรันเดนบูร์ก]]) และสเทททิน และบริเวณโดยรอบ (เกือบ 25% ของดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามเมื่อปี 1937) อยู่ภายใต้การปกครองของโปแลนด์และโซเวียต โดยแบ่งให้โปแลนด์และโซเวียตผนวก นอกจากนี้ ฝรั่งเศสยังได้ยึดครองดินแดนส่วนใหญ่ของ[[แคว้นซาร์]] ซึ่งเป็นแหล่งอุตสาหกรรมถ่านหินที่สำคัญของเยอรมนีที่เหลืออีกด้วย ดินแดนส่วนใหญ่ที่เยอรมนีเสียไปนี้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ยกเว้น [[อัปเปอร์ไซลีเซีย]] ซึ่งเป็นศูนย์อุตสาหกรรมหนักที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของเยอรมนี ฝ่ายสัมพันธมิตรขับไล่ผู้อยู่อาศัยชาวเยอรมัน ในปี 1947 สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเลิกปรัสเซียด้วยกฎหมาย ที่ 46 (20 พฤษภาคม 1947) ตามการประชุมพอทสดัม ดินแดนปรัสเซียทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซถูกแบ่งแยกและปกครองโดยโปแลนด์และ[[มณฑลคาลินินกราด]] ตามสนธิสัญญาสันิภาพขั้นสุดท้าย ภายหลัง โดยการลงนาม[[สนธิสัญญากรุงวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1970) และ[[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]] (ค.ศ. 1990) เยอรมนีสละการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนที่เสียไประหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
 
การเปลี่ยนแปลงดินแดนดังกล่าวส่งผลกระทบให้ชาวเยอรมันราว 14 ล้านคน<ref name="expelled">de Zayas, Alfred-Maurice: ''A Terrible Revenge: The Ethnic Cleansing of the Eastern European Germans 1944-1950'', New York: St. Martin's Press, 1994</ref> ถูกขับออกจากดินแดนซึ่งอยู่นอกพรมแดนประเทศเยอรมนีใหม่ มีผู้เสียชีวิตระหว่างเหตุการณ์นี้ประมาณ 1-2 ล้านคน<ref name="expelled"/> เช่นเดียวกับเมืองใหญ่น้อยทั้งหลาย เช่น [[สเทททิน]], [[เคอนิกซเบิร์ก]], [[เบรสเลา]], [[เอลบิง]] และ[[ดันซิก]] ที่ได้ขับชาวเยอรมันออกจากเมืองเช่นกัน
 
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์เยอรมนี}}
=== สมัยสาธารณรัฐไวมาร์ ===
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐไวมาร์}}
เส้น 175 ⟶ 196:
ระบอบนาซีเลิกสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐไวมาร์ รวมทั้งธงไตรรงค์ดำ-แดง-ทอง และใช้สัญลักษณ์นิยมจักรวรรดิที่ปรับปรุงใหม่ที่แสดงธรรมชาติคู่ของจักรวรรดิที่สามแห่งเยอรมนี ที่ผ่านมา ไตรรงค์ดำ-ขาว-แดงถูกรื้อฟื้นเป็นหนึ่งในสองธงชาติอย่างเป็นทางการของเยอรมนี ซึ่งธงที่สองนั้นเป็นธงสวัสดิกะของพรรคนาซี ซึ่งกลายเป็นธงชาติเยอรมันอย่างเดียวในปี 1935 เพลงประจำพรรคนาซี "[[ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด|ฮอร์สท์-เวสเซิล-ลีด]]" กลายเป็นเพลงชาติเพลงที่สอง<ref name="Cuomo 1995"/>
 
วันที่ 30 มกราคม 1934 นายกรัฐมนตรีฮิตเลอร์รวมอำนาจปกครองเข้าสู่ตนเองด้วย[[รัฐบัญญัติสร้างไรช์ใหม่]] (Act to Rebuild the Reich) โดยยุบ[[รัฐสภาแลนเดอร์]] (สหพันธรัฐ) และโอนอำนาจและการปกครองรัฐเข้าสู่รัฐบาลกลางกรุงเบอร์ลิน การรวมอำนาจปกครองเริ่มต้นไม่นานหลังการประกาศใช้กฎหมายรัฐบัญญัติมอบอำนาจเมื่อเดือนมีนาคม 1933 เมื่อรัฐบาลของรัฐต่าง ๆ ถูกแทนที่ด้วย[[ผู้ว่าการไรช์]] (Reich governor) รัฐบาลท้องถิ่นถูกขับจากตำแหน่ง ผู้ว่าการไรช์แต่งตั้งนายกเทศมนตรีของนครและเมืองที่มีประชากรต่ำกว่า 100,000 คน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งนายกเทศมนตรีนครที่มีประชากรมากกว่า 100,000 คน และในกรณีกรุงเบอร์ลินและ[[ฮัมบูร์ก]] (และ[[เวียนนา]]ในปี 1938) ฮิตเลอร์มีดุลยพินิจส่วนบุคคลในการแต่งตั้งนายกเทศมนตรี
 
จนถึงฤดูใบไม้ผลิปี 1934 มีเพียงกองทัพบกเท่านั้นที่ยังเป็นอิสระจากการควบคุมของรัฐบาล แต่เดิมกองทัพบกถูกแยกจากรัฐบาลแห่งชาติเป็นองค์การต่างหาก [[แอร์นสท์ เริม]] ผู้นำกำลังกึ่งทหารของนาซี [[ชตูร์มมับไทลุง]] (เอสเอ, "หน่วยสมทบวายุ") ซึ่งมีสมาชิกหลายล้านคน ตั้งใจเข้าบัญชาไรช์สเวร์ และกลืนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเอสเอ{{sfn|Kershaw|2008|p=306}} เพื่อสานต่อ "การปฏิวัติแห่งชาติ" เริมนิยม "การปฏิวัติที่สอง" ซึ่งจะทำลายนักอุตสาหกรรม ธุรกิจขนาดใหญ่ อภิชนยุงเคอร์ และการควบคุมกองทัพของปรัสเซีย{{sfn|Shirer|1960|p=205}} ประเด็นดังกล่าวถึงจุดวิกฤตในเดือนมิถุนายน 1934 เมื่อประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กแจ้งฮิตเลอร์ว่า หากเขาไม่ดำเนินการเพื่อจำกัดเอสเอ จะยุบรัฐบาลและประกาศ[[กฎอัยการศึก]]{{sfn|Shirer|1960|p=219}}
เส้น 220 ⟶ 241:
 
การแบ่งแยกปกครองเยอรมนีเริ่มต้นขึ้นภายใต้การจัดตั้ง[[สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร]] และแบ่งเยอรมนีและกรุงเบอร์ลินออกเป็น 4 ส่วน ให้อยู่ในการควบคุมของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต โดยส่วนที่ปกครองโดยสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส รวมตัวกันเป็น[[เยอรมนีตะวันตก]] และส่วนที่สหภาพโซเวียตปกครองกลายมาเป็น[[เยอรมนีตะวันออก]] เยอรมนีทั้งสองเป็นสนามรบของ[[สงครามเย็น]]ในทวีปยุโรป ก่อนที่จะมีการรวมประเทศอีกครั้งในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
== ภูมิศาสตร์ ==
เยอรมนีตั้งอยู่ในเขตที่ราบต่ำตอนกลางทวีปยุโรป<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 293.</ref> มีลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนอยู่สามแห่ง: เขตที่ราบต่ำตอนเหนือ เขตภูเขาตอนกลาง และเขตที่ราบสูงและลุ่มแม่น้ำทางใต้ ดินทางตอนเหนือนั้นมีคุณค่าทางเศรษฐกิจมาก และมีป่าสนกินอาณาเขตกว้างขวางตามตีนเขาของเทือกเขาที่ลากผ่านตอนกลางของประเทศ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 118-119.</ref>
 
ด้านการคมนาคม ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เยอรมนีมีทางน้ำในประเทศความยาวรวมกว่า 7,000 ไมล์ ซึ่งในจำนวนนี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจถึง 4,830 ไมล์<ref name="Geo122">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 122.</ref> มีเมืองท่าที่สำคัญ คือ ดืสบูร์ก-รูรอร์ท [[ฮัมบูร์ก]] และเบอร์ลิน<ref name="Geo122"/> เช่นเดียวกับ[[คลองคีล]] ซึ่งมีสินค้าผ่านคลองกว่า 9.4 ล้านตันต่อปี ในปี 1936<ref name="Geo123">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 123.</ref> นอกจากนั้น เยอรมนียังมีทางรถไฟยาวกว่า 43,000 ไมล์<ref name="Geo123"/>; ในปี 1937 เยอรมนีมีระบบถนนยาว 134,000 ไมล์ และทางหลวงขนาดใหญ่ (เอาโตบาเนน) ยาว 3,150 ไมล์ ในปี 1939<ref name="Geo125">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 125.</ref>
 
[[เกษตรกรรม]]ในประเทศประสบความสำเร็จอย่างมาก และสามารถปลูกพืชได้หลายชนิด ในปี 1936 ราว 61% ของพื้นที่ทั้งประเทศเป็นพื้นที่เพาะปลูก<ref name="Geo126">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126.</ref> โดยพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ [[ข้าวไรย์]] มันฝรั่ง ชูการ์บีต และไม้องุ่น<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126-127.</ref> มีทรัพยากรแร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ [[ถ่านหิน]] ปิโตรเลียม<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 130.</ref> ทองแดง สังกะสี และดีเกลือ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 132-133.</ref>
 
=== การเปลี่ยนแปลงดินแดนก่อนสงคราม ===
ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้เยอรมนีเสียดินแดนไปกว่า 13% และ[[จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน|อาณานิคม]]ทั้งหมด รวมทั้งเสียเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอ เหมือง[[โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์|พอทแทช]] และแหล่งแร่เหล็กที่สำคัญ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 292.</ref> การเปลี่ยนแปลงดินแดนทำให้เยอรมนีมีพรมแดนทางเหนือติดต่อกับ[[เดนมาร์ก]] [[ทะเลเหนือ]] และ[[ทะเลบอลติก]] ทางทิศตะวันตกติดต่อกับ[[ฝรั่งเศส]] [[เบลเยี่ยม]] [[ลักเซมเบิร์ก]] [[เนเธอร์แลนด์]] [[ไรน์แลนด์]] และ[[รัฐซาร์ลันด์ (สันนิบาติชาติ)|ซาร์ลันด์]] ทางทิศตะวันออก เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน โดยติดต่อกับ[[โปแลนด์]] [[ลิทัวเนีย]] [[นครเสรีดันซิก]] และ[[เชโกสโลวาเกีย]] ส่วนทางทิศใต้มี[[ออสเตรีย]] และ[[สวิตเซอร์แลนด์]] แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่านได้แก่ แม่น้ำไรน์ [[แม่น้ำดานูบ]] และ[[แม่น้ำเอลเบอ]]
 
ต่อมา เยอรมนีเข้าควบคุมซาร์ลันด์ เปลี่ยนตนเองเป็น "มหาเยอรมนี" (Greater Germany) โดยการผนวก[[ออสเตรีย]]ใน[[อันชลุสส์]] และเข้าควบคุมซูเดเทนลันด์ของ[[เชโกสโลวาเกีย]] [[โบฮีเมียและโมราเวีย]]ส่วนที่เหลือ และ[[ดินแดนเมเมล]] (ภูมิภาคไคลเพดา) ของลิทัวเนียก่อนสงคราม
 
=== การขยายอาณาเขตยามสงคราม ===
{{บทความหลัก|ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง}}
 
ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่สอง พื้นที่ซึ่งมีพลเมืองชาวเยอรมันอาศัยอยู่ อย่างเช่น [[ออสเตรีย]] [[ซูเทเดนแลนด์]], ดินแดนมาเมล รวมทั้งดินแดนซึ่งผนวกรวมภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ ได้แก่ ออยเปน-เอท-มัลเมอดี, อัลซาซ-ลอร์เรน, ดันซิก และดินแดนของ[[สาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง|โปแลนด์]] นอกจากนั้น ระหว่างปี 1939-1945 [[สาธารณรัฐเช็ก|แคว้นโบฮีเมียและโบราเวีย]] ถูกปกครองในฐานะ[[รัฐในอารักขาแคว้นโบฮีเมียและโบราเวีย|รัฐในอารักขาของเยอรมนี]]<ref>Hugh LeCaine Agnew. [http://books.google.com/books?id=PW_Oo2PQwocC&pg=PA215&dq=bohemia+and+moravia&as_brr=1&cd=2#v=onepage&q=protectorate&f=false The Czechs and the lands of the Bohemian crown]. Hoover Institutition Press. p.208</ref> ซึ่งเยอรมนีมีอำนาจควบคุมและบริหารประเทศ แต่ยังอนุญาตให้มีเงินตราของตัวเอง [[เช็กไซลีเซีย]]รวมเข้ากับ[[จังหวัดไซลีเซีย]]ในช่วงเวลาเดียวกัน ในปี 1942 [[ลักเซมเบิร์ก]]ถูกผนวกรวมกับเยอรมนีโดยตรง<ref>Raphael Lemkin, Samantha Power. [http://books.google.com/books?id=ChhmqYeVS80C&pg=PA193&dq=luxembourg+occupied&lr=&as_brr=3&cd=1#v=onepage&q=luxembourg%20occupied&f=false Axis rule in occupied Europe: laws of occupation, analysis of government]. Rumford Press, Concord N.M. p. 193</ref> โปแลนด์ตอนกลางและแคว้นกาลิเซียถูกปกครองโดย[[เจอเนอรัลโกอูเวอร์เนเมนท์]] ({{lang-de|Generalgouvernement}}) ที่เยอรมนีบริหาร<ref>Raphael Lemkin, Samantha Power. [http://books.google.com/books?id=ChhmqYeVS80C&pg=PA193&dq=luxembourg+occupied&lr=&as_brr=3&cd=1#v=onepage&q=luxembourg%20occupied&f=false Axis rule in occupied Europe: laws of occupation, analysis of government]. Rumford Press, Concord N.M. p. 225-226.</ref> ท้ายสุด ชาวโปแลนด์จะถูกอพยพ และจัดให้ชาวเยอรมันห้าล้านคนเข้าไปอาศัยอยู่แทน ปลายปี 1943 นาซีเยอรมนีพิชิต[[เซาธ์ไทรอล]] และ[[อิสเตรีย]] ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] ก่อนปี 1919 และยึด[[ตรีเอสเต]]หลังรัฐบาลฟาสซิสต์อิตาลี (ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรฝ่ายอักษะ) ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร เขตการปกครองหุ่นเชิดสองเขตถูกจัดตั้งขึ้นแทนที่
 
=== การเปลี่ยนแปลงหลังสงคราม ===
[[ไฟล์:Germanborders.svg|thumb|300px|ดินแดนที่เยอรมนีสูญเสียไปหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง]]
พรมแดนโดยพฤตินัยของนาซีเยอรมนีเปลี่ยนแปลงมานานก่อนการล่มสลายในเดือนพฤษภาคม 1945 เพราะกองทัพแดงคืบหน้ามาทางตะวันตก พร้อมกับที่ประชากรเยอรมันหลบหนีมายังแผ่นดินเยอรมนี และสัมพันธมิตรตะวันตกรุกคืบมาทางตะวันออกจากฝรั่งเศส เมื่อสงครามยุติ มีเพียงผืนดินเล็ก ๆ จากออสเตรียถึงโบฮีเมียและโมราเวีย และภูมิภาคที่ถูกโดดเดี่ยวอื่น ๆ เท่านั้นที่ยังไม่ถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครอง ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาสถาปนาเขตยึดครอง ดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซ (อันประกอบด้วย [[ปรัสเซียตะวันออก]] [[ไซลีเซีย]] [[ปรัสเซียตะวันตก]] ราวสองในสามของ[[แคว้นโพเมอราเนีย]] และบางส่วนของ[[บรันเดนบูร์ก]]) และสเทททิน และบริเวณโดยรอบ (เกือบ 25% ของดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามเมื่อปี 1937) อยู่ภายใต้การปกครองของโปแลนด์และโซเวียต โดยแบ่งให้โปแลนด์และโซเวียตผนวก นอกจากนี้ ฝรั่งเศสยังได้ยึดครองดินแดนส่วนใหญ่ของ[[แคว้นซาร์]] ซึ่งเป็นแหล่งอุตสาหกรรมถ่านหินที่สำคัญของเยอรมนีที่เหลืออีกด้วย ดินแดนส่วนใหญ่ที่เยอรมนีเสียไปนี้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ยกเว้น [[อัปเปอร์ไซลีเซีย]] ซึ่งเป็นศูนย์อุตสาหกรรมหนักที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของเยอรมนี ฝ่ายสัมพันธมิตรขับไล่ผู้อยู่อาศัยชาวเยอรมัน ในปี 1947 สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเลิกปรัสเซียด้วยกฎหมาย ที่ 46 (20 พฤษภาคม 1947) ตามการประชุมพอทสดัม ดินแดนปรัสเซียทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซถูกแบ่งแยกและปกครองโดยโปแลนด์และ[[มณฑลคาลินินกราด]] ตามสนธิสัญญาสันิภาพขั้นสุดท้าย ภายหลัง โดยการลงนาม[[สนธิสัญญากรุงวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1970) และ[[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]] (ค.ศ. 1990) เยอรมนีสละการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนที่เสียไประหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
 
การเปลี่ยนแปลงดินแดนดังกล่าวส่งผลกระทบให้ชาวเยอรมันราว 14 ล้านคน<ref name="expelled">de Zayas, Alfred-Maurice: ''A Terrible Revenge: The Ethnic Cleansing of the Eastern European Germans 1944-1950'', New York: St. Martin's Press, 1994</ref> ถูกขับออกจากดินแดนซึ่งอยู่นอกพรมแดนประเทศเยอรมนีใหม่ มีผู้เสียชีวิตระหว่างเหตุการณ์นี้ประมาณ 1-2 ล้านคน<ref name="expelled"/> เช่นเดียวกับเมืองใหญ่น้อยทั้งหลาย เช่น [[สเทททิน]], [[เคอนิกซเบิร์ก]], [[เบรสเลา]], [[เอลบิง]] และ[[ดันซิก]] ที่ได้ขับชาวเยอรมันออกจากเมืองเช่นกัน
 
== การเมืองการปกครอง ==
รัฐนาซียกย่องฮิตเลอร์ว่าเป็นฟือเรอร์ ("ผู้นำ") ที่รวมศูนย์อำนาจทั้งหมดไว้ในมือ การโฆษณาชวนเชื่อนาซีมีศูนย์กลางอยู่ที่ฮิตเลอร์และสร้างสิ่งที่นักประวัติศาสตร์เรียกว่า "เรื่องปรัมปราฮิตเลอร์" คือ ฮิตเลอร์เป็นผู้รู้แจ้งและความผิดพลาดหรือความล้มเหลวใด ๆ ของผู้อื่นจะถูกแก้ไขให้ถูกต้องหากเขาให้ความสนใจ แต่ในความเป็นจริง ฮิตเลอร์มีความสนใจแคบ และการวินิจฉัยสั่งการกระจายกันระหว่างศูนย์อำนาจที่ซ้ำซ้อนและขัดแย้งกัน ฮิตเลอร์ไม่มีปฏิกิริยาในบางประเด็น เพียงแต่เห็นพ้องกับแรงกดดันจากผู้ใดก็ตามที่เขารับฟัง ข้าราชการระดับสูงรายงานตรงต่อฮิตเลอร์และปฏิบัติตามนโยบายพื้นฐาน แต่ยังมีความเป็นอิสระในงานประจำวันพอสมควร ผ่านการบรรจุสมาชิกพรรคนาซีในตำแหน่งหน้าที่รัฐบาลส่วนใหญ่ จนถึงปี 1935 รัฐบาลแห่งชาติเยอรมันและพรรคนาซีก็แทบจะเป็นหนึ่งเดียวกัน จนถึงปี 1938 ผ่านนโยบาย[[ไกลช์ชัลทุง]] รัฐบาลท้องถิ่นและรัฐสูญเสียอำนาจนิติบัญญัติทั้งหมดและสนองตอบผู้นำพรรคนาซีในการปกครอง ซึ่งเรียกว่า [[เกาไลแตร์]]
 
=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
[[ไฟล์:NS administrative Gliederung 1944.png|thumb|250px|การแบ่งเขตการปกครองมหาจักรวรรดิเยอรมัน เมื่อปี 1944]]
เพื่อให้การควบคุมเยอรมนีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นไปโดยรัดกุมยิ่งขึ้น ในปี 1935 ระบอบนาซีแทนที่การปกครองลันเดอร์ ({{lang-de|länder}}) ด้วย "[[เกา]]" ({{lang-de|gau}}) ซึ่งนำโดยผู้ว่าการที่ตอบสนองต่อรัฐบาลกลางในกรุงเบอร์ลิน การจัดระเบียบใหม่นี้ทำให้[[ปรัสเซีย]]อ่อนแอลงในทางการเมือง ซึ่งในอดีตปรัสเซียเคยครอบงำการเมืองเยอรมนี เริ่มแรกนั้น เยอรมนีแบ่งออกเป็น 32 เกา และระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีสามารถยึดครองดินแดนอื่นได้<ref>[http://www.historisches-lexikon-bayerns.de/artikel/artikel_44497 Gau (NSDAP) - Kontinuität der Gaugliederung nach 1933] Historisches Lexikon Bayerns</ref> จึงได้จัดระเบียบการปกครองขึ้นใหม่ เรียกว่า "[[ไรช์เกา]]" ({{lang-de|reichsgau}}) กระทั่งปี 1945 นาซีเยอรมนีมีเขตการปกครองรวมทั้งสิ้น 42 เกา<ref>[http://www.nizkor.org/hweb/imt/nca/nca-01/nca-01-06-organization.html The Organization of the Nazi Party & State] ''The Nizkor Project''</ref>
 
=== โครงสร้างรัฐบาล ===
เส้น 307 ⟶ 301:
คณะรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลเฟลนซบูร์ก ประกอบด้วย
 
* ประธานาธิบดี: [[จอมพลเรือ]] [[คาร์ล เดอนิตช์]] (และเป็นผู้บัญชาการทหารบก)
* [[ลุทส์ กรัฟ ชเวริน วอน โครซิกค์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นประธานคณะรัฐมนตรี
* [[เฮนริช ฮิมม์เลอร์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ถูกไล่ออกเมื่อวันที่ [[6 พฤษภาคม]] 1945)
เส้น 316 ⟶ 310:
* ดร. [[ฟรานซ์ เชลตท์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและกิจการสังคม
* ดร. [[จูไลอัส ดอร์พมึลเลอร์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงไปรษณีย์และกระทรวงการคมนาคม
 
=== กฎหมาย ===
โครงสร้างการศาลและประมวลกฎหมายส่วนใหญ่ของสาธารณรัฐไวมาร์ยังคงใช้อยู่ระหว่างและหลังไรช์ที่สาม แต่มีการเปลี่ยนแปลงใน[[ประมวลการศาล ]](judicial code) เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงสำคัญในคำวินิจฉัยของศาล พรรคนาซีเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมายพรรคเดียวในเยอรมนี และพรรคการเมืองอื่นทั้งหมดถูกห้าม สิทธิมนุษยชนส่วนมากในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ถูกระงับโดย[[ไรช์ซเกเซทเซอ]] ("กฎหมายของไรช์") หลายฉบับ ชนกลุ่มน้อยจำนวนมาก เช่น ยิว นักการเมืองฝ่ายตรงข้าม และเชลยศึกถูกเพิกถอนสิทธิและความรับผิดชอบส่วนใหญ่ แผนการเพื่อผ่าน[[โฟล์คซซทรัฟเกเซทซบุค]] ("ประมวลกระบวนการยุติธรรมทางอาญาประชาชน") มีขึ้นไม่นานหลังปี 1933 แต่ไม่ได้นำปมาใช้จริงกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองยุติ
 
มีการตั้งศาลประเภทใหม่ โฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") ขึ้นในปี 1934 เพียงเพื่อจัดการกับคดีที่มีความสำคัญทางการเมืองเท่านั้น ตั้งแต่ปี 1934 – กันยายน 1944 ศาลมีคำสั่งประหารชีวิต 5,375 คน ไม่นับรวมโทษประหารชีวิตตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 1944 – เมษายน 1945 ซึ่งประเมินที่ 2,000 คน ตุลาการคนที่โดดเด่นที่สุด คือ โรลันด์ ไฟรซเลอร์ หัวหน้าศาลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 1942 – กุมภาพันธ์ 1945
 
=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
[[ไฟล์:NS administrative Gliederung 1944.png|thumb|250px|การแบ่งเขตการปกครองมหาจักรวรรดิเยอรมัน เมื่อปี 1944]]
เพื่อให้การควบคุมเยอรมนีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นไปโดยรัดกุมยิ่งขึ้น ในปี 1935 ระบอบนาซีแทนที่การปกครองลันเดอร์ ({{lang-de|länder}}) ด้วย "[[เกา]]" ({{lang-de|gau}}) ซึ่งนำโดยผู้ว่าการที่ตอบสนองต่อรัฐบาลกลางในกรุงเบอร์ลิน การจัดระเบียบใหม่นี้ทำให้[[ปรัสเซีย]]อ่อนแอลงในทางการเมือง ซึ่งในอดีตปรัสเซียเคยครอบงำการเมืองเยอรมนี เริ่มแรกนั้น เยอรมนีแบ่งออกเป็น 32 เกา และระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีสามารถยึดครองดินแดนอื่นได้<ref>[http://www.historisches-lexikon-bayerns.de/artikel/artikel_44497 Gau (NSDAP) - Kontinuität der Gaugliederung nach 1933] Historisches Lexikon Bayerns</ref> จึงได้จัดระเบียบการปกครองขึ้นใหม่ เรียกว่า "[[ไรช์เกา]]" ({{lang-de|reichsgau}}) กระทั่งปี 1945 นาซีเยอรมนีมีเขตการปกครองรวมทั้งสิ้น 42 เกา<ref>[http://www.nizkor.org/hweb/imt/nca/nca-01/nca-01-06-organization.html The Organization of the Nazi Party & State] ''The Nizkor Project''</ref>
 
=== อุดมการณ์ของรัฐ ===
เส้น 334 ⟶ 337:
การเหยียดสีผิวและคตินิยมเชื้อชาติเป็นมุมมองสำคัญของสังคมในไรช์ที่สาม นาซีรวมการต่อต้านยิวเข้ากับอุดมการณ์ต่อต้านคอมมิวนิสต์ โดยพิจารณาขบวนการลัทธิอยู่ร่วมกันระหว่างประเทศฝ่ายซ้าย เช่นเดียวกับทุนนิยมตลาดระหว่างประเทศ ว่าเป็นผลงานของ "ยิวที่สมรู้ร่วมคิด" นาซียังเอ่ยถึงขบวนการเช่นนี้ด้วยคำอย่าง "การปฏิวัติของพวกต่ำกว่ามนุษย์ยิว-บอลเชวิค"<ref>http://www.ess.uwe.ac.uk/genocide/ssnur1.htm ess.uwe.ac.uk</ref> แนวนโยบายดังกล่าวออกมาในรูปการย้ายประชากร การกักกันและการกำจัดประชากร 11–12 ล้านคนอย่างเป็นระบบระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งราวครึ่งหนึ่งเป็นยิวที่ถูกเป้าหมายในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ที่เรียกว่า [[ฮอโลคอสต์]] ชาติพันธุ์โปแลนด์ 3 ล้านคนเสียชีวิตด้วยผลของการสงคราม พันธุฆาต การตอบโต้ แรงงานเกณฑ์หรือ[[ทุพภิกขภัย]]<ref name="ReferenceA">The Russian Academy of Science Rossiiskaia Akademiia nauk. Liudskie poteri SSSR v period vtoroi mirovoi voiny:sbornik statei. Sankt-Peterburg 1995 ISBN 5-86789-023-6(figure of 13.7 million includes 2.0 million deaths in the annexed territories which are also included with Poland's war dead)</ref> และอีก 100,000–1,000,000 คนเป็น[[ชาวโรมานี]] ที่ถูกฆ่าใน [[Porajmos]] เหยื่ออื่น ๆ ของการเบียดเบียนโดยนาซี รวมถึงพวกคอมมิวนิสต์ คู่แข่งทางการเมืองทั้งหลาย ผู้ที่ถูกขับออกจากสังคม [[รักร่วมเพศ]] นักคิดเสรี ผู้คัดค้านศาสนา เช่น ผู้นับถือ[[พยานพระยะโฮวาห์]] (Jehovah's Witnesses) [[คริสตาเดลเฟียน]] [[คริสตจักรสารภาพ]]และ[[ฟรีเมสัน]]<ref name="britannica">"[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/335949/Siege-of-Leningrad Siege of Leningrad (Soviet history)]". Encyclopædia Britannica.</ref>
 
== การต่างประเทศ ==
=== กฎหมาย ===
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุด เยอรมนีถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ซึ่งได้ทำลายเศรษฐกิจเยอรมนีลงย่อยยับ และห้ามสร้างเครื่องบิน เรือดำน้ำ และเรือรบขนาดใหญ่ เยอรมนีสูญเสียดินแดนอาณานิคมทั้งหมด และห้ามสร้างสัมพันธไมตรีกับ[[ออสเตรีย]]และ[[นครเสรีดันซิก]]ที่เพิ่งเกิดใหม่
โครงสร้างการศาลและประมวลกฎหมายส่วนใหญ่ของสาธารณรัฐไวมาร์ยังคงใช้อยู่ระหว่างและหลังไรช์ที่สาม แต่มีการเปลี่ยนแปลงในประมวลการศาล (judicial code) เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงสำคัญในคำวินิจฉัยของศาล พรรคนาซีเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมายพรรคเดียวในเยอรมนี และพรรคการเมืองอื่นทั้งหมดถูกห้าม สิทธิมนุษยชนส่วนมากในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ถูกระงับโดยไรช์ซเกเซทเซอ ("กฎหมายของไรช์") หลายฉบับ ชนกลุ่มน้อยจำนวนมาก เช่น ยิว นักการเมืองฝ่ายตรงข้าม และเชลยศึกถูกเพิกถอนสิทธิและความรับผิดชอบส่วนใหญ่ แผนการเพื่อผ่านโฟล์คซซทรัฟเกเซทซบุค ("ประมวลกระบวนการยุติธรรมทางอาญาประชาชน") มีขึ้นไม่นานหลังปี 1933 แต่ไม่ได้นำปมาใช้จริงกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองยุติ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมนีกับประเทศที่เหลือในยุโรปเสื่อมลงด้วยอุบายการเมืองและการตัดสินใจเกี่ยวกับโอกาสหลายครั้ง ด้วยเกรงสงครามโลกครั้งที่สอง อังกฤษและฝรั่งเศสจึงใช้นโยบาย[[การจำยอมสละ]]ต่อเยอรมนี และปฏิเสธนโยบายต่างประเทศก้าวร้าวเพื่อทำให้นาซีที่เพิ่งเถลิงอำนาจพอใจ เป้าหมายของฮิตเลอร์หลังการเถลิงอำนาจนั้นมีสามข้อ ฉีกสนธิสัญญาแวร์ซาย การรวบรวมดินแดนเยอรมนีที่สูญเสียไปภายใต้ข้อบังคับแห่งสนธิสัญญาแวร์ซาย และเลเบนสเราม์ กล่าวกันว่าฮิตเลรอ์ต้องการให้อังกฤษเป็นพันธมิตรในสงครามกับสหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาในท้ายที่สุด ฮิตเลอร์ใช้นโยบายการจำยอมสละของอังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อข้อได้เปรียบทางโอกาสของตนเมื่อเขาประกาศจะเกณฑ์ทหารเข้าสู่กองทัพและสร้างลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) ในเดือนมีนาคม 1935 ซึ่งทั้งสองขัดต่อสนธิสัญญาแวร์ซายโดยตรง นโยบายต่างประเทศของเขาถูกออกแบบมาเพื่อทดสอบความอดทนของอังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อให้เขาดูได้ว่าสามารถปลีกตัวออกพร้อมกับอะไรติดมือไปบ้าง อีกความกังวลหนึ่งของเขา คือ อิตาลี ที่มีมุสโสลินีเป็นผู้นำและได้กลายมาเป็นประเทศฟาสซิสต์คล้ายกัน แต่พลเมืองภายในแตกแยกกันมากกว่า ฮิตเลอร์ต้องการพันธมิตรที่มีเสถียรภาพและทรงอำนาจกว่านี้
มีการตั้งศาลประเภทใหม่ โฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") ขึ้นในปี 1934 เพียงเพื่อจัดการกับคดีที่มีความสำคัญทางการเมืองเท่านั้น ตั้งแต่ปี 1934 – กันยายน 1944 ศาลมีคำสั่งประหารชีวิต 5,375 คน ไม่นับรวมโทษประหารชีวิตตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 1944 – เมษายน 1945 ซึ่งประเมินที่ 2,000 คน ตุลาการคนที่โดดเด่นที่สุด คือ โรลันด์ ไฟรซเลอร์ หัวหน้าศาลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 1942 – กุมภาพันธ์ 1945
 
ในปี 1935 ฮิตเลอร์สั่งเกณฑ์ทหาร จัดตั้งกองทัพอากาศ และส่งกำลังทหารกลับเข้าประจำแคว้นซาร์ แต่ไม่ได้รับการตอบโต้จากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรประการใด เป็นเหตุให้ฮิตเลอร์ฮึกเหิมและก้าวร้าวมากขึ้น ในปีต่อมา ฮิตเลอร์เริ่มใช้กำลังทหารเข้าแทรกแซงกิจการภายในของประเทศอื่น ในปี 1937 ฮิตเลอร์ส่งกองกำลังไปช่วยเหลือฝ่ายชาตินิยมสเปน ภายใต้การนำของนายพล [[ฟรานซิสโก ฟรังโก]] ใน[[สงครามกลางเมืองสเปน]]
 
[[ไฟล์:Munich agreement.jpg|thumb|right|200px|[[การประชุมมิวนิก]] นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์ยอมยกแคว้นซูเดเตนแลนด์ให้แก่ฮิตเลอร์]]
 
ในปี 1938 เยอรมนีผนวกเอาดินแดนออสเตรีย อิตาลีซึ่งมีท่าทีต่อต้านเยอรมนีมิให้ยึดครองออสเตรียมาตั้งแต่การลงนามใน[[สนธิสัญญาเหล็ก]] เมื่ออังกฤษและอิตาลีปราศจากผลประโยชน์ร่วมกันแล้ว อิตาลีจึงเริ่มเปลี่ยนท่าทีโอนเอียงไปหาเยอรมนีแทน ต่อมาก็ยังได้ดินแดน[[ซูเดเตนแลนด์]]และ[[เชโกสโลวาเกีย]] อังกฤษซึ่งยังคงเชื่อว่าฮิตเลอร์ไม่ปรารถนาสงคราม นายกรัฐมนตรีอังกฤษ [[เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์]] จึงได้ลงนามยกแคว้นซูเดเตนแลนด์ให้แก่เยอรมนี ด้วยหวังว่าเยอรมนีจะไม่แสวงหาดินแดนอื่นเพิ่มเติมในทวีปยุโรป เนวิลล์คิดว่าตนได้ปฏิบัติภารกิจได้ประสบความสำเร็จแล้วเมื่อฮิตเลอร์ยอมตอบตกลง แต่หลังจากนั้น ฮิตเลอร์ก็เข้าผนวกเชโกสโลวาเกียอีก
 
หลังจากนั้น ฮิตเลอร์ได้พุ่งเป้าไปยังโปแลนด์และ[[ฉนวนโปแลนด์]] เขาต้องการให้มีการทบทวนการกำหนดพรมแดนใหม่กับโปแลนด์ แต่โปแลนด์ปฏิเสธที่จะยอมรับการผนวก[[นครเสรีดันซิก]]เข้ากับเยอรมนี ไม่นานก่อนหน้าการบุกครองโปแลนด์ ฮิตเลอร์ได้ลงนามใน[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอป|สนธิสัญญาไม่รุกรานกันกับสหภาพโซเวียต]] เพื่อเป็นการแบ่งปันเขตอิทธิพลของตนใน[[ยุโรปตะวันออก]] และเมื่อถึงวันที่ [[1 กันยายน]] 1939 กองทัพเยอรมนีการบุกครองโปแลนด์ และนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประกาศสงครามกับนาซีเยอรมนีและให้การช่วยเหลือโปแลนด์ก็ตาม แต่ผลก็แทบจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นเลย ซึ่งเป็นระยะที่เรียกกันว่า "[[สงครามลวง]]"
 
ในปี 1940 เยอรมนีรุกรานเดนมาร์กและนอร์เวีย เพื่อลดการตึงเครียดที่เกิดขึ้นจากความหวาดระแวงในท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งยังได้โจมตีไปทางทิศตะวันตก ยึดครอง[[กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ]]และประเทศฝรั่งเศส โดยเยอรมนียินยอมให้ผู้ชาตินิยมและวีรบุรุษสงคราม [[ฟิลิป เปแตง]] จัดตั้งการปกครองภายใต้ระบอบ[[ฟาสซิสต์]] เรียกชื่อประเทศว่า "รัฐฝรั่งเศส" หรือเป็นที่รู้จักกันกว้างขวางกว่า คือ [[วิชีฝรั่งเศส]]
 
ในปี 1941 เยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตในความพยายามที่จะพิชิตดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลตามนโยบาย ''[[เลเบนสเราม์]]'' สำหรับพลเมืองสัญชาติเยอรมัน โดยรัฐบาลสัญญาว่าจะมีการจัดตั้ง
 
ในช่วงหลังจากปี 1943 ทิศทางของสงครามเปลี่ยนแปลงไป เยอรมนีถูกบังคับให้ต้องยึดครองดินแดนของอิตาลี ซึ่งรัฐบาลของมุสโสลินีหมดอำนาจลง และจัดตั้งรัฐบาล[[สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี]] กองทัพเยอรมันต้องสู้กับกองทัพพันธมิตรทั้ง 3 แนวรบ เยอรมนีในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สองถูกโดดเดี่ยวทางการทูตอย่างหนัก และไม่อาจต้านทานกองทัพสัมพันธมิตรที่รุกเข้ามาจากทั้งทางทิศตะวันตก ตะวันออกและทิศใต้ เมื่อรัฐบาลใหม่ของเยอรมนีประกาศยอมแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] 1945
 
== การทหาร ==
{{บทความหลัก|เวร์มัคท์}}
กองทัพไรช์ที่สาม เรียก เวร์มัคท์ เป็นชื่อของกองทัพเยอรมนีตั้งแต่ปี 1935–1945 โดยมี[[เฮร์]] (กองทัพบก) [[ครีกซมารีเนอ]] (กองทัพเรือ) [[ลุฟท์วัฟเฟอ]] (กองทัพอากาศ) และ องค์การทหาร [[วัฟฟัน-เอสเอส]] (ฝ่ายทหารของ[[เอสเอส]] ซึ่งโดยพฤตินัยเป็นเหล่าทัพที่สี่ของเวร์มัคท์)
 
[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]กำหนดให้กำลังพลกองทัพบกเยอรมันถูกจำกัดไม่เกิน 100,000 นาย แต่ฮิตเลอร์แอบสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์อย่างลับ ๆ จากนั้นก็สั่งระดมพลทั่วประเทศในปี 1935 ซึ่งชาวเยอรมันอายุตั้งแต่ 18–45 ปีต้องไปเกณฑ์ทหาร รวมถึงสร้างกองทัพอากาศในปีเดียวกันด้วย ทว่า อังกฤษและฝรั่งเศสต่างไม่ได้ต่อต้านแต่ประการใด เพราะเชื่อมั่นว่าฮิตเลอร์ปรารถนาสันติภาพ ต่อมา ก็มีการทำ[[ข้อตกลงการเดินเรืออังกฤษ–เยอรมัน]] ซึ่งเป็นการขยายขนาดกองทัพเรือเยอรมัน
 
[[ไฟล์:Messerschmitt Me 262 Schwable.jpg|thumb|right|200px|เครื่องบินเมชเชอร์ชมิตต์ เมอ-262 ชวาเบิล เครื่องบินขับไล่เจ็ตรุ่นแรกของโลก]]
 
มโนทัศน์ก้าวหน้าของกองทัพบกเยอรมันบุกเบิกระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] โดยการรวมกำลังภาคพื้นและทางอากาศมาเป็นชุดอาวุธผสม ประกอบกับวิธีการสู้รบสงครามแต่เดิม เช่น การโอบล้อมและ "การยุทธ์การทำลายล้าง" กองทัพเยอรมันจึงคว้าชัยชนะรวดเร็วปานสายฟ้าหลายครั้งในปีแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้นักหนังสือพิมพ์ต่างชาติสร้างคำใหม่แก่สิ่งที่เขาพบเห็นว่า [[บลิทซครีก]] จำนวนทหารทั้งหมดที่รับรัฐการในเวร์มัคท์ระหว่างที่มีอยู่ตั้งแต่ปี 1935–1945 เชื่อกันว่าถึง 18.2 ล้านนาย ตัวเลขอย่างเป็นทางการระบุว่ามีทหารเยอรมันเสียชีวิตตลอดสงครามราว 5.3 ล้านนาย
 
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคนาซีใช้กองทัพใน[[ฮอโลคอสต์]]<ref name="forgotten">{{cite book | author=[[Richard C. Lukas|Lukas, Richard C.]] | title=Forgotten Holocaust: The Poles Under German Occupation 1939-1944 | editor= | others=[[Norman Davies|Davies, Norman]] | publisher=[[Hippocrene Books]] | id=ISBN 0-7818-0901-0 }}</ref> ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีตั้งแต่นายทหารชั้นสัญญาบัตรจนถึงผู้บังคับบัญชาระดับสูง<ref>,http://www.dailymail.co.uk/pages/live/femail/article.html?in_article_id=469883&in_page_id=1879</ref> และยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการฆาตกรรมและการสังหารหมู่ประชาชนในเขตยึดครอง<ref name="Datner">"55 Dni Wehrmachtu w Polsce" [[Szymon Datner]] Warsaw 1967 page 67 "Zanotowano szereg faktów gwałcenia kobiet i dziewcząt żydowskich"(Numerous cases of rapes made upon Jewish women and girls were noted)</ref> ซึ่งถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามต่อมวลมนุษยชาติ
 
การพัฒนาทางด้านการทหารของนาซีเยอรมนีเจริญไปจนถึงขั้นมีโครงการทดลองระเบิดปรมาณูของตัวเอง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สองคน [[ออทโท ฮาน]]และ[[ฟริทซ์ สทรัซซ์มันน์]] ซึ่งได้ยืนยันผลการทดลองขั้นแรกของตนเมื่อวันที่ 13 มกราคม 1939<ref> O. R. Frisch ''Physical Evidence for the Division of Heavy Nuclei under Neutron Bombardment'', ''Nature'', Volume 143, Number 3616, 276-276 [http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/Chem-History/Frisch-Fission-1939.html (18 February 1939)]. The paper is dated 17 January 1939. [The experiment for this letter to the editor was conducted on 13 January 1939; see Richard Rhodes ''The Making of the Atomic Bomb'' 263 and 268 (Simon and Schuster, 1986).]</ref> <ref> In 1944, Hahn received the [[Nobel Prize for Chemistry]] for the discovery of nuclear fission. Some historians have documented the history of the discovery of nuclear fission and believe Meitner should have been awarded the Nobel Prize with Hahn. See the following references: Ruth Lewin Sime ''From Exceptional Prominence to Prominent Exception: Lise Meitner at the Kaiser Wilhelm Institute for Chemistry'' [http://www.mpiwg-berlin.mpg.de/KWG/Ergebnisse/Ergebnisse24.pdf Ergebnisse 24] Forschungsprogramm ''Geschichte der Kaiser-Wilhelm-Gesellschaft im Nationalsozialismus'' (2005) ; Ruth Lewin Sime ''Lise Meitner: A Life in Physics'' (University of California, 1997) ; and Elisabeth Crawford, Ruth Lewin Sime, and Mark Walker ''A Nobel Tale of Postwar Injustice'', ''Physics Today'' Volume 50, Issue 9, 26-32 (1997).</ref> แต่ทว่าเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองยุติลงด้วยความพ่ายแพ้ของเยอรมนี ดังนั้นการทดลองจึงยังไม่สัมฤทธิ์ผล<ref> Walker, 1993, 83-84, 170, 183, and Reference #85 on p. 247. See also Manfred von Ardenne ''Erinnerungen, fortgeschrieben. Ein Forscherleben im Jahrhudert des Wandels der Wissenschaften und politischen Systeme.'' (Droste, 1997).</ref>
 
== เศรษฐกิจ ==
เส้น 363 ⟶ 394:
การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์อย่างหนักมากโดยสหรัฐอเมริกาและอังกฤษมุ่งไปยังระบบขนส่งของเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลานรถไฟ<ref name="richard"/> คลองและโรงกลั่นผลิตน้ำมันสังเคราะห์และแกโซลีน ลุฟท์วัฟเฟอพยายามป้องกันเป้าหมายเหล่านี้แต่กลับถูกทำลายเสียเอง น้ำมัน ดีเซลและแกโซลีนสำรองหมดไปในปลายปี 1944 และทางรถไฟถูกรบกวนเสียจนเศรษฐกิจกลายเป็นเกลียวมรณะ<ref name="Mierzejewski1988"/> โอเวรีแย้งว่า การทิ้งระเบิดไม่เพียงแต่สร้างความแตกแยกทางสังคมครั้งใหญ่เท่านั้น แต่ยังสร้างการสนองเชิงรับที่ขึงเศรษฐกิจสงครามของเยอรมนีและบังคับให้เยอรมนีหันเหกำลังคนและอุตสาหกรรมถึงหนึ่งในสี่ไปกับทรัพยากรต่อต้านอากาศยาน โอเวรีสรุปว่าการทัพทิ้งระเบิดอาจย่นระยะเวลาของสงคราม<ref name="Why the Allies Won"/>
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
== การทหาร ==
{{บทความหลัก|เวร์มัคท์}}
กองทัพไรช์ที่สาม เรียก เวร์มัคท์ เป็นชื่อของกองทัพเยอรมนีตั้งแต่ปี 1935–1945 โดยมี[[เฮร์]] (กองทัพบก) [[ครีกซมารีเนอ]] (กองทัพเรือ) [[ลุฟท์วัฟเฟอ]] (กองทัพอากาศ) และ องค์การทหาร [[วัฟฟัน-เอสเอส]] (ฝ่ายทหารของ[[เอสเอส]] ซึ่งโดยพฤตินัยเป็นเหล่าทัพที่สี่ของเวร์มัคท์)
 
[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]กำหนดให้กำลังพลกองทัพบกเยอรมันถูกจำกัดไม่เกิน 100,000 นาย แต่ฮิตเลอร์แอบสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์อย่างลับ ๆ จากนั้นก็สั่งระดมพลทั่วประเทศในปี 1935 ซึ่งชาวเยอรมันอายุตั้งแต่ 18–45 ปีต้องไปเกณฑ์ทหาร รวมถึงสร้างกองทัพอากาศในปีเดียวกันด้วย ทว่า อังกฤษและฝรั่งเศสต่างไม่ได้ต่อต้านแต่ประการใด เพราะเชื่อมั่นว่าฮิตเลอร์ปรารถนาสันติภาพ ต่อมา ก็มีการทำ[[ข้อตกลงการเดินเรืออังกฤษ–เยอรมัน]] ซึ่งเป็นการขยายขนาดกองทัพเรือเยอรมัน
 
[[ไฟล์:Messerschmitt Me 262 Schwable.jpg|thumb|right|200px|เครื่องบินเมชเชอร์ชมิตต์ เมอ-262 ชวาเบิล เครื่องบินขับไล่เจ็ตรุ่นแรกของโลก]]
 
มโนทัศน์ก้าวหน้าของกองทัพบกเยอรมันบุกเบิกระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] โดยการรวมกำลังภาคพื้นและทางอากาศมาเป็นชุดอาวุธผสม ประกอบกับวิธีการสู้รบสงครามแต่เดิม เช่น การโอบล้อมและ "การยุทธ์การทำลายล้าง" กองทัพเยอรมันจึงคว้าชัยชนะรวดเร็วปานสายฟ้าหลายครั้งในปีแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้นักหนังสือพิมพ์ต่างชาติสร้างคำใหม่แก่สิ่งที่เขาพบเห็นว่า [[บลิทซครีก]] จำนวนทหารทั้งหมดที่รับรัฐการในเวร์มัคท์ระหว่างที่มีอยู่ตั้งแต่ปี 1935–1945 เชื่อกันว่าถึง 18.2 ล้านนาย ตัวเลขอย่างเป็นทางการระบุว่ามีทหารเยอรมันเสียชีวิตตลอดสงครามราว 5.3 ล้านนาย
 
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคนาซีใช้กองทัพใน[[ฮอโลคอสต์]]<ref name="forgotten">{{cite book | author=[[Richard C. Lukas|Lukas, Richard C.]] | title=Forgotten Holocaust: The Poles Under German Occupation 1939-1944 | editor= | others=[[Norman Davies|Davies, Norman]] | publisher=[[Hippocrene Books]] | id=ISBN 0-7818-0901-0 }}</ref> ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีตั้งแต่นายทหารชั้นสัญญาบัตรจนถึงผู้บังคับบัญชาระดับสูง<ref>,http://www.dailymail.co.uk/pages/live/femail/article.html?in_article_id=469883&in_page_id=1879</ref> และยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการฆาตกรรมและการสังหารหมู่ประชาชนในเขตยึดครอง<ref name="Datner">"55 Dni Wehrmachtu w Polsce" [[Szymon Datner]] Warsaw 1967 page 67 "Zanotowano szereg faktów gwałcenia kobiet i dziewcząt żydowskich"(Numerous cases of rapes made upon Jewish women and girls were noted)</ref> ซึ่งถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามต่อมวลมนุษยชาติ
 
การพัฒนาทางด้านการทหารของนาซีเยอรมนีเจริญไปจนถึงขั้นมีโครงการทดลองระเบิดปรมาณูของตัวเอง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สองคน [[ออทโท ฮาน]]และ[[ฟริทซ์ สทรัซซ์มันน์]] ซึ่งได้ยืนยันผลการทดลองขั้นแรกของตนเมื่อวันที่ 13 มกราคม 1939<ref> O. R. Frisch ''Physical Evidence for the Division of Heavy Nuclei under Neutron Bombardment'', ''Nature'', Volume 143, Number 3616, 276-276 [http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/Chem-History/Frisch-Fission-1939.html (18 February 1939)]. The paper is dated 17 January 1939. [The experiment for this letter to the editor was conducted on 13 January 1939; see Richard Rhodes ''The Making of the Atomic Bomb'' 263 and 268 (Simon and Schuster, 1986).]</ref> <ref> In 1944, Hahn received the [[Nobel Prize for Chemistry]] for the discovery of nuclear fission. Some historians have documented the history of the discovery of nuclear fission and believe Meitner should have been awarded the Nobel Prize with Hahn. See the following references: Ruth Lewin Sime ''From Exceptional Prominence to Prominent Exception: Lise Meitner at the Kaiser Wilhelm Institute for Chemistry'' [http://www.mpiwg-berlin.mpg.de/KWG/Ergebnisse/Ergebnisse24.pdf Ergebnisse 24] Forschungsprogramm ''Geschichte der Kaiser-Wilhelm-Gesellschaft im Nationalsozialismus'' (2005) ; Ruth Lewin Sime ''Lise Meitner: A Life in Physics'' (University of California, 1997) ; and Elisabeth Crawford, Ruth Lewin Sime, and Mark Walker ''A Nobel Tale of Postwar Injustice'', ''Physics Today'' Volume 50, Issue 9, 26-32 (1997).</ref> แต่ทว่าเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองยุติลงด้วยความพ่ายแพ้ของเยอรมนี ดังนั้นการทดลองจึงยังไม่สัมฤทธิ์ผล<ref> Walker, 1993, 83-84, 170, 183, and Reference #85 on p. 247. See also Manfred von Ardenne ''Erinnerungen, fortgeschrieben. Ein Forscherleben im Jahrhudert des Wandels der Wissenschaften und politischen Systeme.'' (Droste, 1997).</ref>
 
== สังคม ==
 
=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในประเทศเยอรมนี}}
การศึกษาภายใต้ระบอบนาซีเยอรมนีมุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมรรถภาพทางกาย<ref name="edu">Pauley, Bruce F. ''Hitler, Stalin and Mussolini: Totalitarianism in the Twentieth Century.'' 2nd Edition. 2003. Wheeling, Illinois, USA: Harlan Davidson Inc. Pp. 118.</ref> การศึกษาทางทหารกลายมาเป็นองค์ประกอบศูนย์กลางของพลศึกษาเพื่อเตรียมพร้อมชาวเยอรมันในการสงครามทั้งทางจิตใจ จิตวิญญาณ และร่างกาย<ref name="German Psychological Warfare"/> ตำราเรียนวิทยาศาสตร์นำเสนอ[[การคัดเลือกโดยธรรมชาติ]]ในแง่ที่เน้นมโนทัศน์ความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติ<ref name="Bowen 1981"/>
 
เส้น 396 ⟶ 413:
นาซีเยอรมนีให้ความสำคัญด้านสาธารณสุขอย่างมาก ต่างจากที่หลายคนเข้าใจ<ref name="สาธารณสุข">[http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp แพทยศาสตร์และนโยบายด้านสาธารณสุขของนาซีเยอรมนี] {{en icon}}</ref> จากการศึกษาวิจัยของโรเบิร์ต เอ็น. พร็อกเตอร์ ในหนังสือ ''The Nazi War on Cancer'' ของเขา<ref name = "adl.org-Proctor">[http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp Nazi Medicine and Public Health Policy] Robert N. Proctor, Dimensions: A Journal of Holocaust Studies.</ref><ref name = "Dowbiggin-Cancer">[http://findarticles.com/p/articles/mi_qa3686/is_200108/ai_n8961328 Review of "The Nazi War on Cancer"] Canadian Journal of History, Aug 2001 by Ian Dowbiggin</ref> นาซีเยอรมนีอาจเป็นประเทศที่[[การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี|มีการต่อต้านบุหรี่อย่างหนักที่สุดในโลก]]ก็ว่าได้ คณะวิจัยเกี่ยวกับโทษของบุหรี่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลอย่างแข็งขัน<ref name=ADLNMPHP>{{citation|last=Proctor|first=Robert N.|title=Nazi Medicine and Public Health Policy|publisher=''Dimensions'', Anti-Defamation League|year=1996|url=http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp}}</ref> และนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันสามารถพิสูจน์ได้ว่าควันพิษจากบุหรี่ก่อให้เกิด[[โรคมะเร็ง]]เป็นครั้งแรกของโลก<ref name=BMJATCNLKAPHG>{{citation|url=http://www.bmj.com/cgi/content/full/313/7070/1450|title=The anti-tobacco campaign of the Nazis: a little known aspect of public health in Germany, 1933-45|author=Robert N. Proctor, Pennsylvania State University|accessdate=2008-06-01|journal=British Medical Journal|volume=313 |issue=7070 |pages=1450–3|pmid=8973234 |pmc=2352989}}</ref><ref name="NWC173">{{citation|last=Proctor|first=Robert N.|title=Nazi Medicine and Public Health Policy|publisher=''Dimensions''|p=173}}</ref><ref name=OANFRIPH>{{citation|url=http://ije.oxfordjournals.org/cgi/content/full/34/3/537|title=Odol, Autobahne and a non-smoking Führer: Reflections on the innocence of public health|author=Johan P. Mackenbach|accessdate=2008-06-01|journal=International Journal of Epidemiology|volume=34 |issue=3 |pages=537–9 |year=2005|pmid=15746205|month=June}}</ref><ref name="SGHS328">{{citation | last = Gilman | first = Sander L. | last2 = Zhou | first2 = Xun | year = 2004 | title = Smoke: A Global History of Smoking | publisher = Reaktion Books | ID = ISBN 1-86189-200-4 | p=328}}</ref> ต่อมา การวิจัยบุกเบิกด้านระบาดวิทยาเชิงทดลองนำไปสู่งานวิจัยโดยฟรันซ์ ฮา มึลเลอร์ในปี 1939 และงานวิจัยโดยเอเบอร์ฮาร์ด ไชแรร์ และเอริช เชอนีแกร์ในปี 1943 ซึ่งแสดงให้เห็นแน่ชัดว่าการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของมะเร็งปอด<ref>{{citation | last = Young | first = T. Kue | year = 2005 | title = Population Health: Concepts and Methods | publisher = Oxford University Press | ID = ISBN 0-19-515854-7 | p = 252}}</ref> รัฐบาลกระตุ้นให้แพทย์ชาวเยอรมันให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยต่อต้านการสูบบุหรี่ การวิจัยของเยอรมนีต่ออันตรายของบุหรี่เงียบหายไปหลังสงครามยุติ และอันตรายของบุหรี่กลับมาถูกค้นพบอีกโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันและอังกฤษในต้นคริสต์ทศวรรษ 1950<ref name="สาธารณสุข"/> โดยมีความลงรอยทางการแพทย์เกิดขึ้นในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960
 
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันยังพิสูจน์ว่า[[แร่ใยหิน]]มีอันตรายต่อสุขภาพ และในปี ค.ศ. 1943 เยอรมนีรับรองโรคที่เกิดจากใยหิน เช่น มะเร็งปอด เป็นโรคจากการประกอบอาชีพที่มีคุณสมบัติได้รับเงินชดเชย ซึ่งนับเป็นชาติแรกในโลกที่เสนอประโยชน์นี้
 
ในส่วนหนึ่งของการรณรงค์สาธารณสุขทั่วไปในนาซีเยอรมนี น้ำประปาถูกทำให้สะอาดขึ้น ตะกั่วและปรอทถูกนำออกจากสินค้าผู้บริโภค และสตรีถูกกระตุ้นให้เข้ารับการตรวจ[[มะเร็งเต้านม]]เป็นประจำ<ref name = "adl.org-Proctor"/><ref name = "Dowbiggin-Cancer"/>
เส้น 402 ⟶ 419:
ระบบสาธารณสุขของนาซียังถือเป็นแนวคิดกลางของมโนทัศน์สุพันธุศาสตร์ คนบางกลุ่มถูกมองว่า "ต่ำกว่าทางพันธุกรรม" และตกเป็นเป้าการกำจัดจากยีนพูลผ่านการทำหมัน (ศาลสุขภาพทางกรรมพันธุ์) หรือถูกฆ่าหมดสิ้น ([[การปฏิบัติเท4]]) ผู้เชี่ยวชาญข้อมูลทางการแพทย์ใช้ขบวนการและเทคโนโลยีใหม่ เช่น ระบบบัตรเจาะรูและการวิเคราะห์ราคา เพื่อช่วยในขบวนการและคำนวณประโยชน์ต่อสังคมจากการฆ่าเหล่านี้<ref name="university"/>
 
=== ทรัพยากรธรรมชาติ ===
=== นโยบายเชื้อชาติ ===
==== สิ่งแวดล้อมนิยม ====
ในปี 1935 รัฐบาลนาซีตรากฎหมาย "รัฐบัญญัติคุ้มครองธรรมชาติไรช์" แม้มิใช่กฎหมายนาซีบริสุทธิ์ เพราะบางส่วนได้รับอิทธิพลมาก่อนนาซีเถลิงอำนาจ กระนั้นกฎหมายนี้ก็สะท้อนอุดมการณ์นาซี มโนทัศน์เดาแอร์วัลด์ (น่าจะแปลได้ว่า ป่านิรันดร์) ซึ่งรวมมโนทัศน์อย่างการจัดการป่า และการคุ้มครองได้รับการสนับสนุน ตลอดจนมีความพยายามจัดการกับมลพิษทางอากาศ<ref name="jhu"/><ref name="h-net"/>
 
ในทางปฏิบัติ กฎหมายและนโยบายที่ได้รับการตราเผชิญกับการขัดขืนจากหลายกระทรวงที่มุ่งบั่นทอนกฎหมายและนโยบายเหล่านี้ และจากลำดับความสำคัญที่ความพยายามของสงครามมาก่อนการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
 
==== นโยบายการคุ้มครองสัตว์ ====
นาซีมีส่วนซึ่งสนับสนุนสิทธิสัตว์ สวนสัตว์และสัตว์ป่า<ref name="BHTFSN153"/> และดำเนินหลายมาตรการเพื่อประกันการคุ้มครองสัตว์<ref name="RA132"/> ในปี 1933 รัฐบาลตรากฎหมายคุ้มครองสัตว์ที่เข้มงวด<ref name="bmj"/><ref name="www_kaltio_fi5"/> ผู้นำพรรคนาซีหลายคน รวมทั้งฮิตเลอร์และเกอริง เป็นผู้สนับสนุนการคุ้มครองสัตว์ นาซีหลายคนเป็นนักสิ่งแวดล้อมนิยม (ที่โดดเด่น คือ [[รูดอล์ฟ เฮสส์]]) และการคุ้มครองสปีชีส์และสวัสดิภาพสัตว์เป็นประเด็นสำคัญในระบอบนาซี<ref name="NWC5"/> ฮิมม์เลอร์พยายามห้ามการล่าสัตว์{{sfn|Kitchen|2006|p=278}} เกอริงเป็นคนรักสัตว์และนักอนุรักษ์<ref name="HWJ79"/> กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ปัจจุบันในเยอรมนีก็รับมาจากกฎหมายที่ริเริ่มขึ้นในระบอบนาซี<ref name="RRNM92"/>
 
แม้มีการตรากฎหมายหลายฉบับเพื่อการคุ้มครองสัตว์ แต่ก็ขาดการบังคับใช้ ตามข้อมูลของพฟูแกร์สอาร์คิฟเฟือร์ไดเกซัมเทฟีซิโอโลจี (กรุสรีรวิทยาทั้งหมดพฟูแกร์ส) วารสารวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น มีการทดลองกับสัตว์หลายการทดลองระหว่างระบอบนาซี<ref name="SCGG90"/> ระบอบนาซียุบองค์การไม่เป็นทางการจำนวนหนึ่งที่สนับสนุนสิ่งแวดล้อมนิยมและการคุ้มครองสัตว์ เช่น เฟรนด์สออฟเนเจอร์<ref name="Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust"/>
 
== ประชากรศาสตร์ ==
=== นโยบายเชื้อชาติ ===
เป็นที่ประจักษ์ว่าชุมชนยิวในเยอรมนีเป็นเป้าแห่งความเกลียดชังตั้งแต่การปราศรัยและงานเขียนแรก ๆ ของฮิตเลอร์ อุดมการณ์นาซีวางกฎเข้มงวดเกี่ยวกับว่าใครเป็นหรือไม่เป็นสายเลือด "อารยัน" บริสุทธิ์ มีการกำหนดการปฏิบัติเพื่อทำให้เชื้อชาติอารยันบริสุทธิ์ ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นหนึ่งเดียวกับ[[เชื้อชาตินอร์ดิก]] ตามด้วยเชื้อชาติรองที่เล็กกว่าของเชื้อชาติอารยันเพื่อเป็นตัวแทนของเชื้อชาติปกครองที่เป็นอุดมคติและบริสุทธิ์ ผลของนโยบายสังคมนาซีในเยอรมนีแบ่งแยกระหว่างผู้ที่ถูกมองว่าเป็น "อารยัน" กับ "มิใช่อารยัน" ยิว หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มชนกลุ่มน้อยอื่น สำหรับเชื้อชาติอารยัน การดำเนินโยบายสังคมจำนวนมากที่เอื้อประโยชน์ต่อคนกลุ่มนี้โดยระบอบนาซีเพิ่มขึ้นตามกาล รวมถึงการคัดค้านการสูบบุหรี่โดยรัฐ การล้างมลทินแก่เด็กอารยันที่เกิดแก่บิดามารดานอกสมรส เช่นเดียวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ครอบครัวเยอรมันอารยันที่ให้กำเนิดบุตร<ref name=Biddiscombe>Perry Biddiscombe "Dangerous Liaisons: The Anti-Fraternization Movement in the US Occupation Zones of Germany and Austria, 1945-1948", Journal of Social History 34.3 (2001) 611-647</ref> วันที่ 1 เมษายน 1933 ฮิตเลอร์ประกาศคว่ำบาตรสถานประกอบธุรกิจยิวทั้งประเทศ ครอบครัวยิวจำนวนมากเตรียมตัวออกนอกประเทศ แต่อีกหลายครอบครัวหวังว่าการดำรงชีพของพวกตนและทรัพย์สินจะปลอดภัย เพราะตนเป็นพลเมืองเยอรมัน
 
เส้น 411 ⟶ 439:
ช่วงปีหลังนาซีเถลิงอำนาจ ยิวหลายคนถูกกระตุ้นให้เดินทางออกนอกประเทศและทำเช่นนั้น ในปี 1935 มีการตรา[[กฎหมายเนือร์นแบร์ก]]ขึ้น มีใจความเพิกถอนสัญชาติเยอรมันของยิว และปฏิเสธการจ้างงานภาครัฐ ขณะนี้ชาวยิวส่วนมากที่ชาวเยอรมันว่าจ้างเสียตำแหน่งงาน ซึ่งถูกแทนที่โดยชาวเยอรมันที่ว่างงาน นอกจากนี้ การสมรสระหว่างยิวกับอารยันถูกห้าม ยิวสูญเสียสิทธิเพิ่มขึ้นในช่วงอีกไม่กี่ปีถัดมา ยิวถูกแยกออกไปจากหลายวิชาชีพ และมิให้จับจ่ายซื้อของในร้านค้าจำนวนมาก หลายเมืองติดป้ายห้ามมิให้ยิวเข้า ที่โดดเด่น คือ ความพยายามของรัฐบาลในการส่งชาวยิวเยอรมันที่มีเชื้อสายโปแลนด์ 17,000 คนกลับประเทศโปแลนด์ จนทำให้ในเดือนพฤศจิกายน 1938 แฮร์เชล กรึนซพัน ชายหนุ่มชาวยิวในกรุงปารีส ลอบสังหารแอร์นสท์ ฟอม รัท เอกอัครราชทูตเยอรมัน เพื่อเป็นการประท้วงการปฏิบัติต่อครอบครัวของเขาในเยอรมนี พรรคนาซีใช้ความพยายามดังกล่าวปลุกปั่นให้เกิดความเกลียดชังชุมชนยิวในเยอรมนี เป็นบริบทของ[[โพกรม]]เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 1938 ซึ่งเจาะจงธุรกิจยิวเป็นพิเศษ เอสเอได้รับมอบหมายให้โจมตี[[สุเหร่ายิว]]และทรัพย์สินของยิวทั่วประเทศเยอรมนี ระหว่าง[[คริสทัลล์นัคท์]] ("คืนกระจกแตก" หรือความหมายตามตัวอักษรว่า คืนคริสตัล) เหตุที่ใช้การเกลื่อนคำดังกล่าวเพราะหน้าต่างที่แตกจำนวนมากทำให้ถนนมองดูเหมือนปกคลุมด้วยคริสตัล เหตุการณ์นี้ทำให้มีชาวยิวเยอรมันเสียชีวิตอย่างน้อย 91 คน และทรัพย์สินยิวถูกทำลายถ้วนหน้า การกีดกันระยะนี้ทำให้เป็นที่ชัดเจนมากว่ายิวในเยอรมนีจะเป็นเป้าหมายในอนาคต เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ชุมชนยิวถูกปรับหนึ่งล้านมาร์คและได้รับการบอกกล่าวว่า พวกเขาจะไม่ได้รับเงินตอบแทนจากความสูญเสีย จนถึงเดือนกันยายน 1939 ยิวกว่า 200,000 คนเดินทางออกนอกประเทศเยอรมนี โดยรัฐบาลยึดทรัพย์สินใด ๆ ที่พวกเขาทิ้งไว้เบื้องหลัง
 
นาซียังดำเนินโครงการที่พุ่งเป้าไม่ยังผู้ที่ "อ่อนแอ" หรือ "ไม่มีสมรรถภาพ" เช่น โครงการการุณยฆาตเท4 ซึ่งคร่าชีวิตผู้พิการและชางเยอรมันที่ป่วยหลายหมื่นคน ในความพยายามที่จะ "ธำรงความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติปกครองอารยัน" ({{lang-de|Herrenvolk}}) ดังที่นักโฆษณาของนาซีอธิบาย เทคนิคการสังหารจำนวนมากที่พัฒนาในความพยายามเหล่านี้ภายหลังถูกใช้ใน[[ฮอโลคอสต์]] ภายใต้กฎหมายที่ผ่านในปี ค.ศ. 1933 ระบอบนาซีดำเนินการบังคับทำหมันปัจเจกบุคคล 400,00 คน ที่ถูกหมายว่ามีความบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งมีตั้งแต่การป่วยทางจิตไปจนถึงติดแอลกอฮอล์
 
อีกส่วนประกอบของโครงการสร้างความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติของนาซี คือ เลเบนซบอร์น หรือ "น้ำพุแห่งชีวิต" ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1935 โครงการดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ทหารเยอรมัน หรือเอสเอสเป็นหลัก สืบพันธุ์ ซึ่งรวมถึงการเสนอบริหารสนับสนุนครอบครัวเอสเอส (รวมถึงการรับเลี้ยงเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์เข้าสู่ครอบครัวเอสเอสที่เหมาะสม) และจัดหาที่อยู่ให้สตรีที่มีคุณค่าทางเชื้อชาติ ที่ตั้งครรภ์เด็กของชายเอสเอสเป็นหลัก ในสถานพักฟื้นในเยอรมนีและทั่วยุโรปที่ถูกยึดครอง เลเบนซบอร์นยังขยายไปครอบคลุมการฝากเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์ที่บังคับยึดมาจากประเทศที่ถูกยึดครอง เช่นโปแลนด์ กับครอบครัวชาวเยอรมัน
 
ในปี 1941 เยอรมนีตัดสินใจทำลายชาติโปแลนด์อย่างสมบูรณ์และผู้นำเยอรมันตัดสินใจว่าในอีก 10 ถึง 20 ปี ชาวโปแลนด์ในรัฐโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมนีจะถูกกวาดล้างอย่างสมบูรณ์ และให้ผู้อยู่ในนิคมชาวเยอรมันเข้าไปตั้งถิ่นฐานแทน<ref name="Germans and Poles 1871–1945"/> นาซีมองว่ายิว ชาวโรมานี ชาวโปแลนด์อยู่ในกลุ่มเดียวกับชนสลาฟ เช่น [[ชาวรัสเซีย]] [[ชาวยูเครน]] [[ชาวเช็ก]] และอีกหลายเชื้อชาติที่มิใช่ "ชาวอารยัน" ตามศัพทวิทยาเชื้อชาตินาซีร่วมสมัยเป็นอุนแทร์เมนเชน ("ต่ำกว่ามนุษย์") แม้ชนสลาฟจำนวนมากจะถูกมองและได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวอารยัน นาซีใช้เหตุผลตัดสินว่าชาวอารยันมีสิทธิทางชีววิทยาในการแทนที่ กำจัดและจับผู้ที่ด้อยกว่าเป็นทาส<ref name="neu"/><ref name="hanover"/> หลังสงคราม ภายใต้ "แผนใหญ่" [[เจเนรัลพลันโอสท์]] ({{lang-de|Generalplan Ost}}) คาดการณ์การเนรเทศประชากรที่ไม่สามารถถูกแผลงเป็นเยอรมัน (non-Germanizable) 45 ล้านคนจากยุโรปตะวันออกไปยังไซบีเรียตะวันตกล่วงหน้า<ref name="anthropology"/> และราว 14 ล้านคนจะยังอยู่ แต่จะถูกปฏิบัติเหมือนทาส<ref name="madajczyk"/><ref name="google19"/> ส่วนชาวเยอรมันจะตั้งถิ่นฐานแทนที่ในเลเบนสเราม์ที่ต่อขยายไปของจักรวรรดิพันปี<ref name="JPop186"/>
เส้น 442 ⟶ 470:
[[การทำแท้ง]]ถูกลงโทษอย่างหนักในนาซีเยอรมนีเว้นเสียแต่อยู่บนเหตุผลของ "สาธารณสุขเชื้อชาติ" ตั้งแต่ปี 1943 นักรีดลูกเผชิญโทษประหารชีวิต<ref name="Abortion"/> การแสดงการคุมกำเนิดไม่ได้รับอนุญาต และฮิตเลอร์เองอธิบายการคุมกำเนิดว่าเป็น "การละเมิดธรรมชาติ เป็นการทำลายความเป็นหญิง ความเป็นแม่และความรัก"<ref name="History of Contraception"/>
 
=== ศาสนา ===
=== สิ่งแวดล้อมนิยม ===
สำมะโนประชากรเยอรมนี เดือนพฤษภาคม 1939 บ่งชี้ว่า ชาวเยอรมัน 54% มองว่าตนเองนับถือนิกายโปรแตสแตนต์ และ 40% มองว่าตนนับถือคาทอลิก โดยมีเพียง 3.5% เท่านั้นที่อ้างว่าเป็น "ผู้เชื่อในพระเจ้า" เพเกินใหม่ และ 1.5% ไม่เชื่อในพระเจ้า สำมะโนนี้ออกมาหลังเข้าสู่ยุคนาซีมาแล้วหกปี<ref name="google3"/>
ในปี 1935 รัฐบาลนาซีตรากฎหมาย "รัฐบัญญัติคุ้มครองธรรมชาติไรช์" แม้มิใช่กฎหมายนาซีบริสุทธิ์ เพราะบางส่วนได้รับอิทธิพลมาก่อนนาซีเถลิงอำนาจ กระนั้นกฎหมายนี้ก็สะท้อนอุดมการณ์นาซี มโนทัศน์เดาแอร์วัลด์ (น่าจะแปลได้ว่า ป่านิรันดร์) ซึ่งรวมมโนทัศน์อย่างการจัดการป่า และการคุ้มครองได้รับการสนับสนุน ตลอดจนมีความพยายามจัดการกับมลพิษทางอากาศ<ref name="jhu"/><ref name="h-net"/>
 
ในทางปฏิบัติ กฎหมายและนโยบายที่ได้รับการตราเผชิญกับการขัดขืนจากหลายกระทรวงที่มุ่งบั่นทอนกฎหมายและนโยบายเหล่านี้ และจากลำดับความสำคัญที่ความพยายามของสงครามมาก่อนการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
 
=== นโยบายการคุ้มครองสัตว์ ===
นาซีมีส่วนซึ่งสนับสนุนสิทธิสัตว์ สวนสัตว์และสัตว์ป่า<ref name="BHTFSN153"/> และดำเนินหลายมาตรการเพื่อประกันการคุ้มครองสัตว์<ref name="RA132"/> ในปี 1933 รัฐบาลตรากฎหมายคุ้มครองสัตว์ที่เข้มงวด<ref name="bmj"/><ref name="www_kaltio_fi5"/> ผู้นำพรรคนาซีหลายคน รวมทั้งฮิตเลอร์และเกอริง เป็นผู้สนับสนุนการคุ้มครองสัตว์ นาซีหลายคนเป็นนักสิ่งแวดล้อมนิยม (ที่โดดเด่น คือ [[รูดอล์ฟ เฮสส์]]) และการคุ้มครองสปีชีส์และสวัสดิภาพสัตว์เป็นประเด็นสำคัญในระบอบนาซี<ref name="NWC5"/> ฮิมม์เลอร์พยายามห้ามการล่าสัตว์{{sfn|Kitchen|2006|p=278}} เกอริงเป็นคนรักสัตว์และนักอนุรักษ์<ref name="HWJ79"/> กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ปัจจุบันในเยอรมนีก็รับมาจากกฎหมายที่ริเริ่มขึ้นในระบอบนาซี<ref name="RRNM92"/>
 
แม้มีการตรากฎหมายหลายฉบับเพื่อการคุ้มครองสัตว์ แต่ก็ขาดการบังคับใช้ ตามข้อมูลของพฟูแกร์สอาร์คิฟเฟือร์ไดเกซัมเทฟีซิโอโลจี (กรุสรีรวิทยาทั้งหมดพฟูแกร์ส) วารสารวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น มีการทดลองกับสัตว์หลายการทดลองระหว่างระบอบนาซี<ref name="SCGG90"/> ระบอบนาซียุบองค์การไม่เป็นทางการจำนวนหนึ่งที่สนับสนุนสิ่งแวดล้อมนิยมและการคุ้มครองสัตว์ เช่น เฟรนด์สออฟเนเจอร์<ref name="Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust"/>
 
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:1933-may-10-berlin-book-burning.JPG|right|200px|thumb|ในปี 1933 นาซีเผาผลงานที่ถูกมองว่า "ไม่เป็นเยอรมัน" ในกรุงเบอร์ลิน ได้แก่ หนังสือโดยผู้ประพันธ์ยิว คู่แข่งการเมือง และผลงานอื่นที่ไม่เป็นไปตามแนวอุดมการณ์นาซี]]
[[ไฟล์:Berlin36-2.jpg|thumb|right|200px|[[โอลิมเปียชตาดิโยน เบอร์ลิน|สนามกีฬาโอลิมปิก]]ในกรุงเบอร์ลิน]]
 
=== ศิลปะ ===
เส้น 466 ⟶ 486:
แม้การอพยพออกนอกประเทศของผู้ผลิตภาพยนตร์จำนวนมากและการจำกัดทางการเมือง แต่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเยอรมนีก็มิได้ขาดนวัตกรรมทางเทคนิคและสุนทรีย์ การริเริ่มการผลิตภาพยนตร์อักฟาโคลอร์เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นอันหนึ่ง ความสำเร็จทางเทคนิคและสุนทรีย์ยังอาจมาถึงคราวสิ้นสุดในไรช์ที่สามได้เหมือนกัน ที่เห็นได้ชัดในผลางานของเลนี รีเฟนสทาล ''ไทรอัมฟ์ออฟเดอะวิล'' (1935) ของรีเฟนสทาล ซึ่งบันทึกเหตุการณ์[[การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ก]] (1934) และ''โอลิมเปีย'' (1938) ที่บันทึกเหตุการณ์[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1936]] บุกเบิกเทคนิคการเคลื่อนไหวกล้องและการตัดต่อที่มีอิทธิพลต่อภาพยนตร์สมัยหลังจำนวนมาก ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไททรอัมฟ์ออฟเดอะวิล ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างสูง เพราะคุณค่าสุนทรีย์นั้นแยกขาดจากการโฆษณาชวนเชื่ออุดมคติชาติสังคมนิยมไม่ได้ ศิลปินที่ไม่สามารถแทนกันได้ที่ดูเหมาะกับอุดมคติชาติสังคมนิยม เช่น มารีคา รอคค์ และโยฮันเนส เฮสแทร์ส ถูกนำขึ้นรายการกอทท์เบกนาเดเทน ("ผู้มีพรสวรรค์จากพระเจ้า") โดยเกิบเบิลส์ระหว่างสงคราม<ref name="Movienews"/>
 
=== ศาสนา ===
สำมะโนประชากรเยอรมนี เดือนพฤษภาคม 1939 บ่งชี้ว่า ชาวเยอรมัน 54% มองว่าตนเองนับถือนิกายโปรแตสแตนต์ และ 40% มองว่าตนนับถือคาทอลิก โดยมีเพียง 3.5% เท่านั้นที่อ้างว่าเป็น "ผู้เชื่อในพระเจ้า" เพเกินใหม่ และ 1.5% ไม่เชื่อในพระเจ้า สำมะโนนี้ออกมาหลังเข้าสู่ยุคนาซีมาแล้วหกปี<ref name="google3"/>
 
=== การกีฬา ===
[[ไฟล์:Berlin36-2.jpg|thumb|right|200px|[[โอลิมเปียชตาดิโยน เบอร์ลิน|สนามกีฬาโอลิมปิก]]ในกรุงเบอร์ลิน]]
กีฬามีบทบาทศูนย์กลางในเป้าหมายการสร้างนักกีฬาหนุ่มสาวที่เข้มแข็งของนาซี เพื่อสร้างเชื้อชาติที่ "ดีเลิศ" และช่วยสร้างเยอรมนีเป็นมหาอำนาจทางกีฬา สัญนิยมทางการเมืองมวลชนที่มีร่างกายเกือบเปลือยบุรุษเพศครอบครองพื้นที่สาธารณะเข้ากับระบบการโฆษณาชวนเชื่ออย่างง่ายดาย โดยมีตัวอย่าง คือ ภาพยนตร์ "โอลิมเปีย" ในปี 1938 ซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึง[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1936|โอลิมปิกฤดูร้อนกรุงเบอร์ลิน 1936]]<ref name="performing"/>
 
"[[นาซิโยนโซเซียลิสทีแชร์ไรช์ซบุนด์เฟือร์ไลเบซือบุงเกน]]" (ย่อ: NSRL หรือ NSRBL) เป็นองค์การดูแลกีฬาระหว่างไรช์ที่สาม มีการจัดแสดงศิลปะและวัฒนธรรมเยอรมันสองครั้งหลักที่โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และที่ศาลาเยอรมันที่นิทรรศการระหว่างประเทศในปี 1937 โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 ตั้งใจให้แสดงให้โลกเห็นความเหนือกว่าชาติอื่นของเยอรมนี นักกีฬาเยอรมันถูกเลือกอย่างระมัดระวังไม่เพียงแต่พละกำลังเท่านั้น แต่ยังรวมถึงลักษณะภายนอกที่เป็นอารยันด้วย<ref name="olympics"/>
 
== การต่างประเทศ ==
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุด เยอรมนีถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ซึ่งได้ทำลายเศรษฐกิจเยอรมนีลงย่อยยับ และห้ามสร้างเครื่องบิน เรือดำน้ำ และเรือรบขนาดใหญ่ เยอรมนีสูญเสียดินแดนอาณานิคมทั้งหมด และห้ามสร้างสัมพันธไมตรีกับ[[ออสเตรีย]]และ[[นครเสรีดันซิก]]ที่เพิ่งเกิดใหม่
 
ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมนีกับประเทศที่เหลือในยุโรปเสื่อมลงด้วยอุบายการเมืองและการตัดสินใจเกี่ยวกับโอกาสหลายครั้ง ด้วยเกรงสงครามโลกครั้งที่สอง อังกฤษและฝรั่งเศสจึงใช้นโยบาย[[การจำยอมสละ]]ต่อเยอรมนี และปฏิเสธนโยบายต่างประเทศก้าวร้าวเพื่อทำให้นาซีที่เพิ่งเถลิงอำนาจพอใจ เป้าหมายของฮิตเลอร์หลังการเถลิงอำนาจนั้นมีสามข้อ ฉีกสนธิสัญญาแวร์ซาย การรวบรวมดินแดนเยอรมนีที่สูญเสียไปภายใต้ข้อบังคับแห่งสนธิสัญญาแวร์ซาย และเลเบนสเราม์ กล่าวกันว่าฮิตเลรอ์ต้องการให้อังกฤษเป็นพันธมิตรในสงครามกับสหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาในท้ายที่สุด ฮิตเลอร์ใช้นโยบายการจำยอมสละของอังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อข้อได้เปรียบทางโอกาสของตนเมื่อเขาประกาศจะเกณฑ์ทหารเข้าสู่กองทัพและสร้างลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) ในเดือนมีนาคม 1935 ซึ่งทั้งสองขัดต่อสนธิสัญญาแวร์ซายโดยตรง นโยบายต่างประเทศของเขาถูกออกแบบมาเพื่อทดสอบความอดทนของอังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อให้เขาดูได้ว่าสามารถปลีกตัวออกพร้อมกับอะไรติดมือไปบ้าง อีกความกังวลหนึ่งของเขา คือ อิตาลี ที่มีมุสโสลินีเป็นผู้นำและได้กลายมาเป็นประเทศฟาสซิสต์คล้ายกัน แต่พลเมืองภายในแตกแยกกันมากกว่า ฮิตเลอร์ต้องการพันธมิตรที่มีเสถียรภาพและทรงอำนาจกว่านี้
 
ในปี 1935 ฮิตเลอร์สั่งเกณฑ์ทหาร จัดตั้งกองทัพอากาศ และส่งกำลังทหารกลับเข้าประจำแคว้นซาร์ แต่ไม่ได้รับการตอบโต้จากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรประการใด เป็นเหตุให้ฮิตเลอร์ฮึกเหิมและก้าวร้าวมากขึ้น ในปีต่อมา ฮิตเลอร์เริ่มใช้กำลังทหารเข้าแทรกแซงกิจการภายในของประเทศอื่น ในปี 1937 ฮิตเลอร์ส่งกองกำลังไปช่วยเหลือฝ่ายชาตินิยมสเปน ภายใต้การนำของนายพล [[ฟรานซิสโก ฟรังโก]] ใน[[สงครามกลางเมืองสเปน]]
 
[[ไฟล์:Munich agreement.jpg|thumb|right|200px|[[การประชุมมิวนิก]] นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์ยอมยกแคว้นซูเดเตนแลนด์ให้แก่ฮิตเลอร์]]
 
ในปี 1938 เยอรมนีผนวกเอาดินแดนออสเตรีย อิตาลีซึ่งมีท่าทีต่อต้านเยอรมนีมิให้ยึดครองออสเตรียมาตั้งแต่การลงนามใน[[สนธิสัญญาเหล็ก]] เมื่ออังกฤษและอิตาลีปราศจากผลประโยชน์ร่วมกันแล้ว อิตาลีจึงเริ่มเปลี่ยนท่าทีโอนเอียงไปหาเยอรมนีแทน ต่อมาก็ยังได้ดินแดน[[ซูเดเตนแลนด์]]และ[[เชโกสโลวาเกีย]] อังกฤษซึ่งยังคงเชื่อว่าฮิตเลอร์ไม่ปรารถนาสงคราม นายกรัฐมนตรีอังกฤษ [[เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์]] จึงได้ลงนามยกแคว้นซูเดเตนแลนด์ให้แก่เยอรมนี ด้วยหวังว่าเยอรมนีจะไม่แสวงหาดินแดนอื่นเพิ่มเติมในทวีปยุโรป เนวิลล์คิดว่าตนได้ปฏิบัติภารกิจได้ประสบความสำเร็จแล้วเมื่อฮิตเลอร์ยอมตอบตกลง แต่หลังจากนั้น ฮิตเลอร์ก็เข้าผนวกเชโกสโลวาเกียอีก
 
หลังจากนั้น ฮิตเลอร์ได้พุ่งเป้าไปยังโปแลนด์และ[[ฉนวนโปแลนด์]] เขาต้องการให้มีการทบทวนการกำหนดพรมแดนใหม่กับโปแลนด์ แต่โปแลนด์ปฏิเสธที่จะยอมรับการผนวก[[นครเสรีดันซิก]]เข้ากับเยอรมนี ไม่นานก่อนหน้าการบุกครองโปแลนด์ ฮิตเลอร์ได้ลงนามใน[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอป|สนธิสัญญาไม่รุกรานกันกับสหภาพโซเวียต]] เพื่อเป็นการแบ่งปันเขตอิทธิพลของตนใน[[ยุโรปตะวันออก]] และเมื่อถึงวันที่ [[1 กันยายน]] 1939 กองทัพเยอรมนีการบุกครองโปแลนด์ และนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประกาศสงครามกับนาซีเยอรมนีและให้การช่วยเหลือโปแลนด์ก็ตาม แต่ผลก็แทบจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นเลย ซึ่งเป็นระยะที่เรียกกันว่า "[[สงครามลวง]]"
 
ในปี 1940 เยอรมนีรุกรานเดนมาร์กและนอร์เวีย เพื่อลดการตึงเครียดที่เกิดขึ้นจากความหวาดระแวงในท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งยังได้โจมตีไปทางทิศตะวันตก ยึดครอง[[กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ]]และประเทศฝรั่งเศส โดยเยอรมนียินยอมให้ผู้ชาตินิยมและวีรบุรุษสงคราม [[ฟิลิป เปแตง]] จัดตั้งการปกครองภายใต้ระบอบ[[ฟาสซิสต์]] เรียกชื่อประเทศว่า "รัฐฝรั่งเศส" หรือเป็นที่รู้จักกันกว้างขวางกว่า คือ [[วิชีฝรั่งเศส]]
 
ในปี 1941 เยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตในความพยายามที่จะพิชิตดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลตามนโยบาย ''[[เลเบนสเราม์]]'' สำหรับพลเมืองสัญชาติเยอรมัน โดยรัฐบาลสัญญาว่าจะมีการจัดตั้ง
 
ในช่วงหลังจากปี 1943 ทิศทางของสงครามเปลี่ยนแปลงไป เยอรมนีถูกบังคับให้ต้องยึดครองดินแดนของอิตาลี ซึ่งรัฐบาลของมุสโสลินีหมดอำนาจลง และจัดตั้งรัฐบาล[[สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี]] กองทัพเยอรมันต้องสู้กับกองทัพพันธมิตรทั้ง 3 แนวรบ เยอรมนีในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สองถูกโดดเดี่ยวทางการทูตอย่างหนัก และไม่อาจต้านทานกองทัพสัมพันธมิตรที่รุกเข้ามาจากทั้งทางทิศตะวันตก ตะวันออกและทิศใต้ เมื่อรัฐบาลใหม่ของเยอรมนีประกาศยอมแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] 1945
 
== อ้างอิงและเชิงอรรถ ==
บรรทัด 672:
 
== หนังสืออ่านเพิ่มเติม ==
 
{{Refbegin|2}}
* William Sheridan Allen. ''The Nazi Seizure of Power : the Experience Of A Single German Town, 1922–1945'' by New York ; Toronto: F. Watts, 1984. ISBN 0-531-09935-0.
เส้น 706 ⟶ 705:
{{Refend}}
</div>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links|Germany|commons=Category:National Socialism}}
* {{Wikiatlas|Germany}}
* [http://www.thirdreichruins.com/index.htm Third Reich in Ruins] (Photos)
* [http://www.dhm.de/lemo/html/nazi/index.html Lebendiges Museum Online] {{de icon}}
* [http://research.calvin.edu/german-propaganda-archive/ww2era.htm#Speech Nazi Propaganda: 1933–1945] {{en icon}}
 
[[หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี|นาซีเยอรมนี]]