ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิงมาคาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
ลิงในสกุลนี้ มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่[[ทวีปแอฟริกา]][[แอฟริกา|ตอนเหนือ]]จนถึง[[เอเชีย]] เป็นลิงที่พบได้อย่างกว้างขวาง มีนิ้วมือที่[[วิวัฒนาการ]]ใช้หยิบจับสิ่งต่าง ๆ ได้ดี มีกระพุ้งแก้มที่สามารถใช้เก็บอาหารได้ กินอาหารได้หลากหลาย ทั้ง[[เนื้อสัตว์]]และ[[พืช]] บาง[[สปีชีส์|ชนิด]]มีหางยาว ขณะที่บางชนิดมีหางขนาดสั้น มีพฤติกรรมทางสังคมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีโครงสร้างทางสังคมที่สลับซับซ้อนและมีลำดับอาวุโส โดยปกติแล้ว ลิง[[ตัวผู้]]ที่มีอาวุโสที่สุดหรือมีขนาดตัวใหญ่ที่สุดในฝูงจะเป็นจ่าฝูง ลิงตัวใดที่มีลำดับอาวุโสน้อยกว่าถ้าได้กินอาหารก่อนลิงที่มีอาวุโสมากกว่า ลิงที่อาวุโสมากกว่าอาจแย่งอาหารจากลิงที่อาวุโสน้อยกว่าขณะกำลังจะหยิบเข้าปากได้เลย<ref>''The Life of Mammals'', Hosted by David Attenborough, 2003 British Broadcasting Corporation. BBC Video</ref>
 
ปัจจุบันมีการ[[อนุกรมวิธาน]]ไว้ทั้งสิ้น 22 ชนิด (บางข้อมูลจำแนกไว้ 16)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=180097 จาก itis.gov {{en}}]</ref> โดยมี 56 ชนิดที่พบได้ใน[[ประเทศไทย]] ซึ่งนับเป็น[[ลิง]]ทั้งหมดที่พบได้ในประเทศไทย คือ [[ลิงแสม]] (''M. fascicularis''), [[ลิงกังใต้]] (''M. nemestrina''), [[ลิงกังเหนือ]] (''M. leonina''), [[ลิงวอก]] (''M. mulatta''), [[ลิงอ้ายเงียะ]] (''M. assamensis'') และ[[ลิงเสน]] (''M. arctoides'')
 
และยังมีอีก 4 ชนิดที่[[สูญพันธุ์]]ไปแล้วอีก คือ ''[[Macaca anderssoni|M. anderssoni]]'', ''[[Macaca jiangchuanensis|M. liangchuanensis]]'', ''[[Macaca libyca|M. libyca]]'', ''[[Macaca majori|M. majori]]''<ref>Hartwig, Walter Carl (2002). ''The primate fossil record''. Cambridge University Press. p. 273. ISBN 0-521-66315-6. http://books.google.com/books?id=Ezm1OA_s6isC&pg=PA273.</ref>