ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phattaradech (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Niranarm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 21:
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์ 40 ปี รามาธิบดี.jpg|left|right|200px|ตรา 40ปี รามาธิบดี]]
* '''[[พ.ศ. 2507]]''' รัฐบาลได้วางนโยบายหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติระยะที่ 2 ให้ผลิต[[แพทย์]]และ[[พยาบาล]]เพิ่มขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะปรับอัตราส่วน ระหว่างแพทย์ กับจำนวนประชากร ให้อยู่ในระดับใกล้เคียง กับอัตราส่วน ของประเทศอื่น จึงได้อนุมัติให้จัดตั้ง คณะแพทยศาสตร์แห่งใหม่ ในมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) โดยใช้ที่ดินราชพัสดุทุ่งพญาไท บริเวณหน้ากรมทางหลวงแผ่นดิน และได้อนุมัติให้จัดตั้ง[[โรงพยาบาลรามาธิบดี]] ขึ้นพร้อมกัน
* '''[[พ.ศ. 2508]]''' มีพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 4 ของประเทศไทย ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี" และรับนศพ. รุ่นแรกที่คณะวิทยาศาสตร์ ในเดือนมิถุนายน
* '''[[พ.ศ. 2512]]''' วันที่ 3 พฤษภาคม [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดคณะแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลรามาธิบดี และเปิดรับผู้ป่วยอย่างเป็นทางการในวันที่ 6 พฤษภาคม
* '''[[พ.ศ. 2552]]''' ครบรอบ 40ปี รามาธิบดี โดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้จัดงาน"การประชุมวิชาการ 4 ทศวรรษ รามาธิบดี : จากนวัตกรรมสู่เวชปฏิบัติ"ที่อิมแพ็ค อารีนา โดยมี[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา]]เสด็จมาเปิดงาน
* '''[[พ.ศ. 2552]]''' [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]เสด็จพระราชดำเนินเปิดศูนย์หลอดเลือดหัวใจและ เมตบอลิซึม ณ อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ และทรงเปิดอาคารศูนย์อุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉินสมบูรณ์แบบ