ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเภทของรถยนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 239:
* โตโยต้า เออร์แบน ครุยเซอร์
 
ตลาดรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็กมากในประเทศไทยถือเป็นตลาดใหม่ เริ่มมีการบุกตลาดอย่างจริงจังในปี พ.ศ. 2556 โดยรถรุ่น นิสสัน จู๊ค และ ฟอร์ด เอคโคสปอร์ต ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 ฮอนด้าได้นำฮอนด้า เอชอาร์-วีมาทำตลาด โดยฟอร์ด เอคโค่สปอร์ต และฮอนด้า เอชอาร์-วีเป็นรถประกอบในประเทศ
 
===รถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็ก===
บรรทัด 247:
* เชฟโรเลต แคปติวา
 
ตลาดรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็กในประเทศไทยนั้นเริ่มตั้งแต่ยุคหลังปี [[พ.ศ. 2535]] โดยซูซูกิ วิทาร่า และเกีย สปอร์ตเทจ ซึ่งเป็นรถนำเข้าแต่ได้รับความนิยมสูง เนื่องจากรัฐบาลไทยในขณะนั้นลดอัตราภาษีรถยนต์นำเข้า และในขณะนั้นมีแต่รถ SUV ที่สร้างบนพื้นฐานของรถกระบะซึ่งไม่เหมาะนักกับการใช้งานในเมือง จึงได้รับความนิยมสูง ต่อมาฮอนด้า ซีอาร์-วี และโตโยต้า ราฟโฟร์ก็เข้ามาบุกตลาดอย่างจริงจังในปี [[พ.ศ. 2539]] โดยซีอาร์-วีนั้นประสบความสำเร็จสูงมากกว่ารถที่อยู่ในตลาดขณะนั้น เนื่องจากความสดใหม่ ทำให้ลูกค้าที่เคยอุดหนุนรุ่นแรกๆ หนีไปซื้อซีอาร์-วีกันเยอะ จนทำให้ทั้ง 2 รายสูญเสียความเป็นผู้นำตลาด เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกียเกือบเลิกทำการตลาดในไทย และเกือบล้มละลาย ส่วนราฟโฟร์ไม่ค่อยประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ต่อมาซีอาร์-วีเริ่มมาประกอบในประเทศ ทำให้เกียและซูซูกิเริ่มค่อยๆ หายไปจากตลาด ขณะเดียวกัน ฟอร์ด เอสเคปและมาสด้า ทริบิวต์เริ่มเข้ามาบุกตลาดโดยนำเข้าจากฟิลิปปินส์ในปี [[พ.ศ. 2547]] ในปี [[พ.ศ. 2548]] นิสสันนำเข้าเอ็กซ์เทรลมาจากอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในปี [[พ.ศ. 2550]] เชฟโรเลตเริ่มทำตลาดเชฟโรเลต แคปติวาโดยประกอบในประเทศ
===รถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดกลาง===
รถยนต์นั่งสมรรถนะสูงขนาดกลางที่มีชื่อเสียง เช่น