ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล มาคส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| birth = [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2361]]<br />เทรียร์, [[ปรัสเซีย]] |
| death = {{วันตาย-อายุ|2426|3|14|2361|5|5}}<br />[[ลอนดอน]], [[สหราชอาณาจักร]]|
| school_tradition = [[มาร์กซิสต์ลัทธิมากซ์]], [[คอมมิวนิสต์]], [[เฮเกลเลียน]] |
| main_interests = [[เศรษฐศาสตร์]], [[การเมือง]], [[การต่อสู้ของชนชั้น]], [[ประวัติศาสตร์]], [[สังคมวิทยา]] |
| influences = [[อดัม สมิธ]], [[วอลแตร์]], [[โยฮันน์ โวลฟ์กัง ฟอน เกอเธอ]]|
บรรทัด 39:
 
=== อาชีพ ===
เมื่อบาวเออร์อาจารย์ของเขาถูกขับออกจากภาควิชาปรัชญาในปี ค.ศ. 1842 ([[พ.ศ. 2385]]) มากซ์จึงเลิกสนใจปรัชญาและหันเหความสนใจไปยังการเป็น[[นักข่าว]] เขาได้เข้าทำหน้าที่บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ ''Rheinische Zeitung'' หนังสือพิมพ์หัวก้าวหน้าของ[[โคโลญน์ (เมือง)โลญ|เมืองโคโลญน์โลญ]] อย่างไรก็ตามหนังสือพิมพ์เล่มนั้นโดนสั่งปิดในปี ค.ศ. 1843 ([[พ.ศ. 2386]]) ซึ่งเป็นผลบางส่วนจากความขัดแย้งระหว่างมากซ์กับมาตรการเซ็นเซอร์ของรัฐ มากซ์กลับไปสนใจปรัชญา และหันไปเป็นนักกิจกรรมทางการเมือง พร้อมกับทำงานเป็น[[นักข่าวอิสระ]] ไม่นานมากซ์ก็ต้องเดินทางลี้ภัย ซึ่งเป็นสิ่งที่มากซ์ต้องกระทำอยู่เรื่อย ๆ เนื่องจากการแสดงความเห็นแบบถอนรากถอนโคนของเขา
 
มากซ์เดินทางไปยัง[[ประเทศฝรั่งเศส]] ที่นั่นเอง เขาได้ขบคิดเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับบาวเออร์และกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ และได้เขียนบทความ ''ปัญหาชาวยิว'' ([[:en:On the Jewish Question|On the Jewish Question]]) ซึ่งเป็นบท[[วิพากษ์]]แนวคิดปัจจุบันเกี่ยวกับ[[สิทธิพลเมือง]]และ[[การปลดปล่อย]]ทางการเมือง ที่[[ปารีส]]เขาได้พบ [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ผู้ซึ่งกลายเป็นผู้ร่วมงานกับมากซ์ไปตลอดชีวิตของเขา เองเงิลส์ได้กระตุ้นให้มากซ์สนใจสถานการณ์ของ[[ชนชั้นทำงาน]] และช่วยแนะนำให้มากซ์สนใจ[[เศรษฐศาสตร์]] เมื่อเขาและเองเงิลส์ถูกภัยการเมืองอีกครั้งอันเนื่องมาจากงานเขียน เขาย้ายไปยังเมือง[[ปรัสเซล]] <!-- บรัสเซล? --> [[ประเทศเบลเยียม]]
บรรทัด 45:
พวกเขาได้ร่วมกันเขียนบทความชื่อ ''[[อุดมการณ์เยอรมัน]]'' (''[[:en:The German Ideology|The German Ideology]]'') ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์ปรัชญาของเฮเกิลและกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ หลังจากนั้นมากซ์เขียน ''[[ความอับจนของปรัชญา]]'' (''[[:en:The Poverty of Philosophy|The Poverty of Philosophy]]'') ซึ่งวิพากษ์ความคิดสังคมนิยมสายฝรั่งเศส บทความทั้งสองวางรากฐานให้กับ ''[[คำประกาศเจตนาคอมมิวนิสต์]]'' (''The Communist Manifesto'') อันเป็นผลงานที่โด่งดังที่สุดของมากซ์และเองเงิลส์. หนังสือ ''คำประกาศเจตนา'' ซึ่ง[[สมาพันธ์คอมมิวนิสต์]]ซึ่งเป็นกลุ่มผู้อพยพชาวเยอรมันที่มากซ์ได้พบที่[[ลอนดอน]]ได้ร้องขอให้เขียน ได้รับการตีพิมพ์เมื่อวันที่ [[21 ก.พ.]] ค.ศ. 1848 ([[พ.ศ. 2391]])
 
ปีนั้นเอง ใน[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]ได้เกิดการลุกฮือครั้งยิ่งใหญ่ กลุ่มคนงานได้เข้ายึดอำนาจจาก[[พระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]] และได้เชิญมากซ์กลับปารีส ต่อมาหลังจากที่รัฐบาลคนงานล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1849 ([[พ.ศ. 2392]]) มากซ์ได้ย้ายกลับไปยังโคโลญน์โลญ และได้เริ่มพิมพ์หนังสือพิมพ์ ''Rheinische Zeitung'' ขึ้นมาใหม่ก่อนจะถูกสั่งปิดลงอีกครั้ง สุดท้ายมากซ์จึงย้ายไปอยู่ที่ลอนดอน ขณะที่อยู่ที่ลอนดอนนั้น มากซ์ทำหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวฝั่งยุโรปให้กับหนังสือพิมพ์นิวยอร์กทรีบูน ([[:en:New York Tribune|New York Tribune]]) ระหว่างปี ค.ศ. 1852 ([[พ.ศ. 2395]]) ถึง 1861 ([[พ.ศ. 2404]]) ในปี ค.ศ. 1852 นั้นเอง มากซ์ได้เขียนแผ่นพับ ''[[การปฏิวัติของหลุยส์ โบนาปาร์ต]]'' (''[[:en:The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte|The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte]]'') เพื่อวิเคราะห์เหตุการณ์ที่[[หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต]] (หลานของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]) เข้ายึดอำนาจรัฐใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]และสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดินโปเลียนที่ 3
 
=== สากลที่หนึ่ง และคำพูดของแกลดสโตน ===