ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทเขิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
 
== ภาษา ==
[[ภาษาไทเขิน]] มีความคล้ายและใกล้เคียงกับ[[ภาษายอง]]และ[[ภาษาไทลื้อ|ไทลื้อ]]มาก ทั้งยังคล้ายกับ[[ภาษาไทยวน]]มาก ต่างเพียงแค่สำเนียง และการลงท้ายคำ ซึ่งชาวเขินแบบได้เป็นสามกลุ่มคือ กลุ่มเขินก่อ-เขินแด้, กลุ่มเขินอู และกลุ่มเขินหวา<ref>{{cite web |url=http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/137223/ไทเขินบ้านต้นแหนนน้อย/|title=ไทเขินบ้านต้นแหนนน้อย|author=|date=31 พฤษภาคม 2555| work= |publisher=ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม|accessdate=31 ธันวาคม 2557}}</ref>
 
ส่วนอักษรนั้นชาวไทเขินได้รับอิทธิพลอักษรจากไทยวนจากการเผยแผ่ศาสนาในเมืองเชียงตุง ไทเขินรับ[[อักษรธรรมล้านนา]]และ[[อักษรฝักขาม]]ไปพร้อม ๆ กับศาสนา อักษรไทเขินจึงมีลักษณะคล้ายกับตัวธรรมล้านนา รวมทั้งยังรับวรรณกรรมล้านนาที่แพร่หลายสู่เชียงตุงด้วย<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552, หน้า 230</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทเขิน"